Page 104 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 104

เจาลิงนอย

       ในประเทศไทยของเรา ลิงท่ีสามารถนำมาฝกใหข้นึ ตนไมเก็บมะพราวได
อยางสมบูรณแบบนั้นมีอยูเพียง ๕ ชนิด ที่ทำงานไดดีและรวดเร็ว นั่นคือ ลิงเสน
ลิงกัง ลิงแสม ลิงไอเงี้ยะ ลิงวอก แตลุงสมชายคงจะเอ็นดกู ับลิงกังอยางเจาฟูฟอง
มากกวา เพราะคุยนักคุยหนาวา เปนพันธุลิงที่เหมาะสมมากที่นำมาใชงานเก็บ
มะพราว เนื่องจากทำงานไดสันทัดปราดเปรียวกวาลิงชนิดอื่น ลุงสมชายจะพึ่งพา
ลิงกังตัวผูมากกวา เพราะมีสรีระรางกายแข็งแรงและทำงานดีกวาลิงตัวเมีย
ลุงสมชายอวดอยางภูมิใจวา เจาฟูฟองสามารถเก็บมะพราวไดเต็มที่ถึง ๘๐๐ ลูก
ตอวัน หมายความวา ลิงแตละตัวใหประสิทธิภาพการทำงานไดมากกวามนุษยนับ
สิบเทาเลยทีเดียวนะ

       โอ พระเจา.....ไมนาเชื่อเลย..... “คน – แพ – ลิง”
       ลงุ สมชายใหข อ มลู ตอ วา ลงิ ทคี่ นเลยี้ งตอ งการมากทสี่ ดุ คอื ลงิ กงั ตวั ผอู ายไุ ม
เกนิ ๒ ขวบ ซง่ึ เปน ลงิ วยั ทเี่ หมาะสมในการฝก ใหท ำงานเกบ็ มะพรา ว หลงั ผา นการฝก
๒ – ๓ เดอื นแลว เจา ของลงิ กจ็ ะพาลงิ คใู จ เทย่ี วตระเวนรบั จา งเกบ็ มะพรา วตามสวน
มะพราวขาประจำทั้งหลาย ลิงจะใชวิทยายุทธที่อุตสาหร่ำเรียนมาทุกรูปแบบ ทำกัน
ทั้งปากกัด ตีนถีบ มือปน และโยนลูก หมายถึง เทาหลังถีบตัวขึ้นลำตนมะพราว มือ
หรอื เทา หนา บดิ ปน ลกู ปากใชก ดั ขว้ั ลกู มะพรา ว ทสี่ ำคญั ลงิ ทไี่ ดร บั การฝก ฝนฝก สอน
อยางดีจะสามารถพิจารณาเลือกผลมะพราวที่ใชการไดดี
       อยา งไรกต็ าม หากไมม งี านเกบ็ มะพรา วในบางชว งหรอื ในวนั ทสี่ ภาพอากาศ
ไมอ ำนวย ลิงทำงานกจ็ ะถกู ลา มโซไ วก ับเสาหลกั ทบี่ า น เจา ฟฟู อ งเองกเ็ ชน กันตอ งนั่ง
จับเจาอยูกับบานลุงไปจนกวาจะถึงเวลาทำงานที่มีงานเขามาอีกครั้งหนึ่ง สิ่งที่อยู
นอกเหนือความคาดหมายอยางยิ่งในขณะที่ลิงกำลังปฏิบัติงานเก็บมะพราวนั้น คือ
เหลา มดแดงทเี่ ลอื กทจี่ ะทำรงั อยบู นตน มะพรา ว เพราะหากถกู มดแดงทั้งรงั รมุ ทำรา ย
เจาฟูฟองหรือลิงตัวไหนก็คงชวยตัวเองไดไมทันการแน ตองรีบหยอนตัวลงมานอน
อาซา เพื่อใหเจาของชวยดึงมดแดงออกจากตัวจนวุนวายเชียวแหละ

         ประเด็นสำคัญที่เจาของลิงบนเกาะสมุยและจังหวัดอื่นของไทยกำลัง
เผชิญปญหาอยางสาหัสอยูคือ การถูกกลาวหาจากหลายฝาย โดยเฉพาะสมาคม

                      ๙๖
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109