Page 236 - สังคมโลก
P. 236

8-42 สังคม​โลก

และป​ กปอ้ งผ​ ลป​ ระโยชนข​์ องต​ นเอง ดังน​ ัน้ อ​ งคก์ ารร​ ะหวา่ งป​ ระเทศจ​ ึงต​ ้องป​ รบั น​ โยบายใ​หส้​ อดคลอ้ งแ​ ละป​ รบั ด​ ลุ ยภาพ​
เพื่อ​สร้าง​สมดุล​ของ​ความ​ขัด​แย้ง​ระหว่าง​ประเทศ​ร่ำรวย​และ​ประเทศ​ที่​ยากจน ถึง​แม้ว่า​ใน​ปัจจุบัน​จะ​มี​ความ​ร่วม​มือ​
ระหวา่ งป​ ระเทศท​ ยี​่ ากจนม​ ากย​ ิง่ ข​ ึน้ ท​ ำใหอ​้ ำนาจก​ ารต​ อ่ ร​ องม​ ม​ี ากย​ ิง่ ข​ ึน้ โดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ งย​ ิง่ จากก​ ารข​ ึน้ ม​ าเ​ปน็ ม​ หาอำนาจ​
ใหม่​ของ​บราซิล รัสเซีย อินเดีย​และ​จีน (BRIC) ซึ่ง​ประเทศ​เหล่า​นี้​ยัง​ประกาศ​ว่า​ตน​ยัง​เป็น​ประเทศ​ที่​ยากจน​อยู่​ทำให้​
กลุ่ม​ของป​ ระเทศท​ ี่ย​ ากจน​มีอ​ ำนาจก​ ารต​ ่อร​ องเ​พิ่มข​ ึ้นเ​ป็นอ​ ย่าง​มาก และส​ ามารถร​ ับมือ​กับป​ ระเทศ​ที่​ร่ำรวย​กว่า​ได้ จน​
บาง​ครั้งน​ ำ​ไปส​ ู่​ความ​ขัด​แย้ง​ระหว่าง​มหาอำนาจม​ าก​ขึ้น​โดย​เฉพาะค​ วามข​ ัด​แย้งร​ ะหว่างส​ หรัฐอเมริกา​กับจ​ ีน เป็นต้น

       จากร​ ะเบียบโ​ลก​ที่ม​ ี​ความ​เปลี่ยนแปลง จากส​ อง​ขั้ว​มหาอำนาจท​ ี่ม​ ี​ความแ​ ตก​ต่างท​ างอ​ ุดมการณ์​ทางการเ​มือง
(Bipolarity) จนถึงอ​ ำนาจ​เดี่ยวใ​น​พหุ​ขั้วอ​ ำนาจ (Uni-multipolarity) ของ​สหรัฐอเมริกา​ในช​ ่วง​หลังก​ ารล​ ่ม​สลาย​ของ​
สหภาพ​โซเวียต จน​กระทั่ง​ใน​ปัจจุบัน​ที่​เป็น​ยุค​การ​มี​ขั้ว​อำนาจ​หลาย​ขั้ว (Multipolarity) รวม​ถึง​การ​ที่​ประเทศ​ต่างๆ
หัน​เข้า​มา​รวม​กลุ่ม​ใน​ภูมิภาค​ซึ่ง​เกิด​ขึ้น​คู่​ขนาน​กับ​การ​รวม​ตัว​ใน​ระดับ​โลก​ก็​เพื่อ​เป็น​ดุลอำนาจ​ใน​การ​ต่อ​รอง​ระหว่าง​
กลุ่ม​องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ​มาก​ยิ่งข​ ึ้น ใน​แต่ละข​ ั้ว​พยายามร​ วมก​ ลุ่ม​ปกป้องผ​ ล​ประโยชน์​ใน​กลุ่ม​ของต​ น นัก​วิชาการ​
ได้​ให้​ความ​เห็น​ว่าการ​รวม​กลุ่ม​ใน​ระดับ​ภูมิภาค​ก็​เพื่อ​การ​จัดการ​เรื่อง​เอกราช (Independence) การ​พึ่งพา​อาศัย​
ซึ่ง​กัน​และ​กัน (Interdependence) และ​การ​ปรับ​เปลี่ยน​เป็น​แบบ​ระหว่าง​ประเทศ (Internationalisation) เพื่อ
​ให้​เกิด​สันติภาพ​และ​ความ​มั่นคง และ​เป็นการ​ตอบโต้​กระบวน​การ​โลกา​ภิ​วัต​น์66 ดัง​นั้น​ความ​ร่วม​มือ​ระหว่าง​กลุ่ม​ใน​
ระดับโ​ลกแ​ ละ​ภูมิภาคจ​ ึงม​ ี​ความล​ ะเอียด​อ่อน ต้องอ​ าศัย​การ​ปรับ​ตัว​ที่ม​ ี​ลักษณะ​แบบข​ ้ามว​ ัฒนธรรม (cross-cultural)
ที่​ต้อง​อาศัย​ความ​ใจ​กว้าง​ยอมรับ​ความ​แตก​ต่าง​ให้​มาก ทั้งนี้​ก็​ขึ้น​อยู่​กับ​เงื่อนไข​ต่างๆ ซึ่ง​เป็น​ทั้ง​โอกาส​และ​อุปสรรค
​ของ​ความ​ร่วม​มือ​ใน​แต่ละ​ภูมิภาค ดัง​นั้น​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​จึง​ต้อง​มี​การ​สร้าง​บรรทัดฐาน​ของ​ความ​สัมพันธ์​
ใน​ระดับ​สากล​ให้​เกิด​ขึ้น มี​หลาย​แนวคิด​ที่​พยายาม​มอง​วิถี​ปฏิบัติ​ใน​การ​จัดการ​ผล​ประโยชน์​ร่วม​กัน​ของ​ทุก​ฝ่ายใน​
ระดับ​สากล แนวคิด​โลกา​ธร​รมาภิ​บาล (Global governace) มอง​ว่า​เป็น​มวล​รวม​ของ​กิจกรรม กฎ​ระเบียบ กลไก​
ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ธร​รมาภิ​บาล​ที่​เป็น​ทางการ​และ​ไม่​เป็น​ทางการ โดย​มี​ความ​หลาก​หลาย​ของ​ระดับ​ต่างๆ ซึ่ง​สามารถ​
ตัด​แบ่ง​ได้​เป็น​ส่วนๆ ทั้งนี้ รัฐ​และ​ตัว​แส​ดง​อื่นๆ ได้​จัด​กิจกรรม​และ​การ​จัดการ​ความ​ร่วม​มือ​ดัง​กล่าว​รวม​เข้า​ได้​
ด้วยก​ ัน เป็น​โครงส​ ร้างห​ ลวมๆ ของก​ าร​จัดการร​ ะเบียบใ​น​ระดับ​รวม​ทั้ง​โลก​ไม่​ว่าจ​ ะ​เป็น​เชิงส​ ถาบัน​หรือเ​ชิงบ​ รรทัดฐาน
ซึ่งจ​ ะไ​ปส​ ร้างเ​งื่อนไขก​ ำหนดแ​ นวทางใ​นก​ ารป​ ระพฤตปิ​ ฏิบัตขิ​ ึ้น67 อย่างไรก​ ็ตาม โลกาธ​ รร​ มาภบิ​ าลแ​ ตกต​ ่างจ​ ากอ​ งค์การ​
ระหว่างป​ ระเทศร​ ะดับส​ ากลเ​นื่องจากป​ ัญหาเ​ชิงน​ โยบายข​ องโ​ลกาธ​ รร​ มาภบิ​ าลค​ รอบคลุมท​ ุกเ​รื่อง ไมไ่​ดแ้​ บ่งว​ ่าเ​ป็นเ​รื่อง​
เศรษฐกิจ สังคม​หรือก​ ารเมือง​ไว้อ​ ย่าง​ชัดเจน จึงไ​ม่มี​องค์​กรใ​ด้​เข้าไป​จัดการป​ ัญหาไ​ด้​อย่าง​เหมาะส​ ม

       นอกจากน​ ี้ ในศ​ ตวรรษท​ ี่ 21 ภัยค​ ุกคามท​ ีท​่ ้าทายค​ วามม​ ัน่ คงม​ คี​ วามซ​ ับซ​ ้อนแ​ ละข​ นาดท​ ีก่​ วา้ งใ​หญเ​่ กินข​ อบเขต​
ของ​ภูมิภาค​จะ​จัดการ​ได้​เพียง​ลำพัง เช่น ปัญหา​การ​ก่อการ​ร้าย ปัญหา​ภาวะ​โลก​ร้อน ปัญหา​เหล่า​นี้​ต้อง​อาศัย​ความ
​ร่วม​มือ​และ​ความ​รู้สึก​ร่วม​กัน​ใน​กรอบ​ของ​ความ​ร่วม​มือ​ใน​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​จึง​มี​
ความส​ ำคัญ​ต่อป​ ัญหา​ต่างๆ เหล่า​นี้ ถึงแ​ ม้ว่า​บาง​ครั้ง​องค์​การฯ จะป​ ระสบ​กับ​ปัญหาค​ วามย​ ุ่ง​ยากต​ ่างๆ ใน​ทางป​ ฏิบัติ​
ก็ตาม องค์การ​จึงต​ ้อง​มี​ความ​ยืดหยุ่น​ในก​ าร​ทำงาน​ทั้ง​เชิงน​ โยบาย​และ​เชิงป​ ฏิบัติ ภารกิจข​ องอ​ งค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ​

         66 Edward BEST and Thomas CHRISTIANSEN, Regionalism in International Affairs, อ้างอิงใ​น ขจิต จิตตเ​สว​ ี อ้างแ​ ล้ว
หน้า 412

         67 โลกา​ธรร​ มาภิบ​ าลไ​ม่ใช่ “รัฐบาล​โลก” หรือ​ระเบียบข​ อง​โลก หรือ​กระบวนการ​ใน​ลักษณะ บน-ล่าง ที่ม​ ี​โครงสร้าง​ลำดับ​ชั้น​ของอ​ ำนาจ​
แต่อ​ ย่าง​ใด องค์ป​ ระกอบ​มี​หลาย​ส่วนค​ ือ 1) กฎร​ ะเบียบ​หรือ​กฎหมาย​ระหว่างป​ ระเทศ 2) ปทัส​ถาน (Soft Law) 3) โครงสร้างต​ ่างๆ เช่น องค์การ​
ระหว่างป​ ระเทศ องค์การข​ ้ามช​ าติ ข้อต​ กลงเ​ฉพาะก​ ิจ การป​ ระชุมร​ ะดับโ​ลก 4) ระบอบก​ ฎเ​กณฑร์​ ะหว่างป​ ระเทศ นอกจากน​ ีย้​ ังม​ ี ธรร​ มาภบิ​ าลเ​อกชน
ซึ่งบ​ างค​ รั้งก​ ฎร​ ะเบียบม​ ีอ​ ิทธิพลต​ ่อก​ ารกร​ ะท​ ำข​ องร​ ัฐบาล ดูเ​พิ่มเ​ติม Magaret P. KARNS and Karen A. MINGST, International Organiza-
tions: The Politics and Process of Global Governance ใน ขจิต จิตตเ​ส​วี เพิ่ง​อ้าง หน้า 414

                             ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241