Page 234 - สังคมโลก
P. 234

8-40 สังคม​โลก

       โครงสรา้ งอ​ ำนาจใ​นก​ ารต​ ดั สินใ​จข​ องส​ หประชาชาติผ​ ูกต​ ิดก​ บั ม​ หาอำนาจ 5 ประเทศจ​ งึ ท​ ำใหม้​ หี​ ลายภ​ ารกจิ ข​ อง​
สหประชาชาติม​ ี​ความ​ไม่​เป็นก​ลาง เนื่องจากม​ ี​ข้อ​จำกัด​ใน​ทางป​ ฏิบัติ ความซ​ ับ​ซ้อน​ของ​สถานการณ์แ​ ละ​ผล​ประโยชน​์
ทับ​ซ้อน​ของ​มหาอำนาจ จนถึง​ขนาด​มี​แนวคิด​ทบทวน​ให้​มี​การ​ปฏิรูป​คณะ​มนตรี​ความ​มั่นคง​เกิด​ขึ้น อัน​ที่​จริง​การ​ใช้​
ระบบ​ความ​มั่นคง​ร่วม​กัน​เป็น​แนวคิด​ที่​ดี​แต่​การ​ปฏิบัติ​การ​รักษา​สันติภาพ​ไม่​สามารถ​นำ​ไป​ใช้​ใน​ทาง​ปฏิบัติ​ได้​เพียง​
ลำพังใ​นส​ ถานการณข์​ องค​ วามร​ ุนแรง62 ความไ​มช่​ ัดเจนแ​ ละก​ ารข​ าดป​ ระสิทธิภาพใ​นก​ ารป​ ฏิบัตกิ​ ารข​ องส​ หประชาชาติน​ ี​้
นำ​ไปส​ ู่​ความไ​ม่ช​ อบ​ธรรม​ใน​ทางป​ ฏิบัติ​มาก​ยิ่งข​ ึ้น ในม​ ิติ​ของ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​รัฐ​กับส​ หประชาชาติ ศาสตรา​จาร​ย์
กสั ซ​ าน ซาล​ าเ​มไ​่ ดว​้ พิ ากษว​์ จิ ารณบ​์ ทบาทข​ องม​ หาอำนาจไ​วอ​้ ยา่ งน​ า่ ส​ นใจ กลา่ วค​ อื มหาอำนาจเ​ปน็ ผ​ กู​้ อ่ ต​ ัง้ ส​ หประชาชาต​ิ
ขึ้นม​ าแ​ ตไ่​ม่มีก​ ารเ​คารพอ​ งค์การน​ ั้นอ​ ย่างจ​ ริงจัง มหาอำนาจต​ ้องการส​ ร้างส​ ันติภาพอ​ ย่างถ​ าวรแ​ ต่ไ​มเ่​คารพก​ ารไ​ม่เ​ข้าไป​
แทรกแซง​ยัง​ประเทศ​ต่างๆ และ​เป็น​เรื่อง​ที่​น่า​ขัน​ที่​ประณาม​ความ​ไม่มี​ประสิทธิภาพ​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ทั้ง​ที่​
ประเทศม​ หาอำนาจ​ส่วน​ใหญ่เ​ป็นผ​ ู้ก​ ำหนด​นโยบาย​ของ​องค์การ​เหล่า​นั้นเ​อง สุดท้าย​มี​กระแส​แนว​ความค​ ิด​ที่​จะป​ ฏิรูป​
คณะ​มนตรี​ความ​มั่นคง​โดย​การ​เพิ่ม​ประเทศ​ใน​คณะ​มนตรี​ความ​มั่นคง​ถาวร แต่​จะ​เป็น​ประเทศ​ใด​นั้น​ยัง​ไม่มี​คำ​ตอบ​
ที่ช​ ัดเจนเ​นื่องเ​ป็นเ​กมการเมืองร​ ะหว่างป​ ระเทศข​ องม​ หาอำนาจจ​ นเ​กิดเ​ป็นภ​ าวะก​ ลืนไ​ม่​เข้าค​ ายไ​ม่​ออกข​ องม​ หาอำนาจ​
ผู้​ก่อ​ตั้ง (paradoxe fondateur)63 ดัง​นั้น โครงสร้าง​และ​อำนาจ​มี​ส่วน​จำกัด​บทบาท​ของ​ตนเอง​จึง​ไม่​สามารถ​แสดง​
บทบาท​ได้​อย่าง​เต็ม​ที่ อีก​ทั้ง​มี​บรรษัท​ข้าม​ชาติ​และ​ขบวนการ​ข้าม​ชาติ​ที่​มี​บทบาท​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​ทำให้​องค์การ​ระหว่าง​
ประเทศ​ไม่ไ​ด้เ​ป็นศ​ ูนย์กลาง​ของป​ ัญหาอ​ ีกต​ ่อไ​ป

       อุปสรรค​ที่ส​ ำคัญ​อีก​ประการ​คือ​ปัญหาท​ ี่​กระทบต​ ่อ​ความม​ ั่นคง​มี​ความซ​ ับ​ซ้อนก​ ว้าง​ขวางม​ าก​ขึ้น ในป​ ี 1994
องค์กร​ด้าน​การ​พัฒนา​ของ​สหประชาชาติ (UNDP) ได้​เสนอ​ความ​มั่นคง​แห่ง​มนุษย์​เป็น​ระเบียบวาระ​โลก​ใน​รายงาน​
การพ​ ัฒนา​มนุษย์ ที่เ​น้น​ให้ป​ ระชาชน​เป็นศ​ ูนย์กลาง​ของ​การ​พัฒนา ทั้งนี้​มนุษย์​ต้อง​ปราศจาก​การ​เผชิญ​หน้าข​ อง​ความ​
ไม่​มั่นคง​ใน​กระบวนการ​โลก​ภาภิ​วัต​น์64 วิกฤตการณ์ก​ าร​เงิน​ในเ​อเชียป​ ี 1997 และก​ าร​ก่อการ​ร้ายเ​มื่อเ​ดือน​กันยายน
2001 หรือแ​ มก้​ ระทั่งก​ ารเ​กิดภ​ ัยพ​ ิบัตจิ​ ากธ​ รรมชาตทิ​ ีผ่​ ิดว​ ิสัยห​ รือภ​ าวะโ​ลกร​ ้อนน​ ั้นไ​ดต้​ อกย้ำถ​ ึงภ​ ัยค​ ุกคามค​ วามม​ ั่นคง​
ในร​ ูปแ​ บบใ​หม่ (non-traditional security threat) กระบวนท​ ัศนข์​ องค​ วามม​ ั่นคงม​ กี​ ารเ​ปลี่ยนแปลง โดยภ​ ัยค​ ุกคามม​ ​ี
ลักษณะซ​ ับซ​ ้อนแ​ ละค​ รอบคลุมท​ ุกม​ ิติม​ ากข​ ึ้น จากค​ วามม​ ั่นคงซ​ ึ่งห​ มายถ​ ึงร​ ัฐแ​ ละด​ ินแ​ ดนก​ ลายม​ าเ​ป็นค​ วามม​ ั่นคงแ​ ห่ง​
มนุษย์ (human security) ซึ่งเ​ป็นพ​ ื้นฐ​ านข​ องก​ ารพ​ ัฒนาใ​นท​ ุกๆ ด้าน ดังน​ ั้นอ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศจ​ ึงต​ ้องม​ กี​ ารป​ รับ​
กระบวนท​ ศั นด​์ า้ นค​ วามม​ ัน่ คงใ​หเ​้ ขา้ ก​ บั ส​ ถานการณใ​์ หมท​่ เี​่ กดิ ข​ ึน้ ซ​ ึง่ อ​ าจจ​ ะน​ บั ไ​ดว​้ า่ เ​ปน็ ป​ ญั หาข​ องค​ นท​ ัง้ โ​ลก ซึง่ อ​ งคก์ าร​
ระหว่างป​ ระเทศ​ครอบคลุม​ทั้ง​ในแ​ ง่อ​ งค์ป​ ระกอบท​ างภ​ ูมิศาสตร์แ​ ละ​ขอบเขต​การด​ ำเนินก​ ิจกรรมต​ ่างๆ เช่นน​ ี้​ได้

         62 การป​ ฏิบัตกิ​ ารร​ ักษาส​ ันติภาพแ​ บ่งอ​ อกเ​ป็น 3 ระยะค​ ือ ระยะแ​ รกเ​ป็นการร​ ักษาส​ ันติภาพ (peace keeping) โดยก​ ารค​ วบคุมใ​หเ้​คารพ​
การห​ ยุดย​ ิง ระยะท​ ีส่​ องเ​ป็นช​ ่วงท​ ีม่​ กี​ ารป​ ฏิบัตกิ​ ารร​ อบด​ ้านม​ ากย​ ิ่งข​ ึ้นค​ ือก​ ารร​ ักษาส​ ันติภาพแ​ ละก​ ารส​ ร้างส​ ันติภาพ (peace keeping/peace build-
ing) ใน​ขณะเ​ดียวกัน ในร​ ะยะ​ที่​สามเ​ป็นช​ ่วงก​ าร​ใช้ก​ ำลัง​รักษาส​ ันติภาพ (peace enforcing) โดย​การแ​ ทรกแซงท​ างท​ หารแ​ ละ​มาตรการบ​ ีบ​บังคับ

         63 Ghassan SALAMÈ, Appels d’empire. Ingèrences et rèsistance à l’áge de la mondialisation, Fayard, Paris, 1996
citè par Amèlie BLOM et Frèdèric CHARILLON, Thèories et concepts des relations internationales, Hachette, Paris, 2001,
p. 118.

         64 ใน​รายงาน​ของ​องค์กร​ด้าน​การ​พัฒนา​แห่ง​สหประชาชาติ​จำกัด​ความ​ภัย​คุกคาม​ความ​มั่นคง​ของ​มนุษย์​ไว้ 7 ประการ​ได้แก่ 1) ความ​
ผันผวน​ทางการ​เงิน​และ​ความ​ไม่​มั่นคง​ทาง​เศรษฐกิจ 2) ความ​ไม่​มั่นคง​ทาง​อาชีพ​และ​ราย​ได้ 3) ความ​ไม่​มั่นคง​ทาง​สุขภาพ 4) ความ​ไม่​มั่นคง​ทาง​
วัฒนธรรม 5) ความไ​ม่ม​ ั่นคงส​ ่วนบ​ ุคคล เช่น การเ​ผชิญก​ ับอ​ าชญากรรม การค​ ้าย​ าเ​สพต​ ิดแ​ ละก​ ารค​ ้าม​ นุษย์ 6) ความไ​ม่ม​ ั่นคงท​ างส​ ิ่งแ​ วดล้อม และ
7) ความ​ไม่​มั่นคงท​ างการ​เมืองแ​ ละช​ ุมชน ได้แก่ การ​เกิดค​ วามต​ ึงเครียดท​ างส​ ังคม เช่น สงคราม​ทั้ง​ระหว่างป​ ระเทศแ​ ละ​สงครามกลางเมืองอ​ ัน​ก่อ​
ผลกร​ ะ​ทบต​ ่อเ​สถียรภาพ​ทางการ​เมือง และ​ความ​เป็นป​ ึก​แผ่นข​ องช​ ุมชน

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239