Page 233 - สังคมโลก
P. 233

องค์การร​ ะหว่าง​ประเทศ 8-39

เรือ่ งท่ี 8.3.1	
อุปสรรคข​ อง​องค์การร​ ะหวา่ ง​ประเทศ

       ในย​ คุ โ​ลกาภ​ ว​ิ ตั น​ ์ พฒั นาการข​ องค​ วามส​ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งป​ ระเทศใ​นส​ งั คมโ​ลกม​ ก​ี ารเ​ปลีย่ นแปลงไ​ปอ​ ยา่ งร​ วดเรว็ ​
และก​ ว้าง​ขวาง จาก​ความส​ ัมพันธ์​ระหว่าง​รัฐก​ ับร​ ัฐ​เปลี่ยน​ไปส​ ู่​ความ​สัมพันธ์​ใน​ลักษณะใ​หม่ท​ ี่ม​ ีต​ ัวแ​ สดง​และ​เครือข​ ่าย​
ใหม่ๆ ปรากฏ​ ข​ ึ้นม​ า การเมืองร​ ะหว่างป​ ระเทศต​ ้องต​ ระหนักถ​ ึงป​ รากฏก​ าร​ ณโ์​ลกาภ​ วิ​ ัตน​ แ์​ ละค​ วามร​ ู้สึกใ​นก​ ารอ​ ยูร่​ ่วมก​ ัน​
ในโ​ลก จากก​ ารเมืองร​ ะหว่าง​ประเทศ (International relations) การเมือง​โลก (world politics) และ​กลาย​เป็นการ​
เมือง​ของ​ทั้ง​โลก (global politics) มาก​ขึ้น เนื่องจาก​มนุษย์​อยู่​ร่วม​กัน​เสมือน​กับ​เป็น​เพื่อน​บ้าน​กัน​ทั้ง​โลก (global
neighbourhood)61 หรือเ​ป็นค​ วาม​รับ​ผิด​ชอบ​ของค​ น​ทั่ง​โลกร​ ่วม​กัน องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ใน​ฐานะ​ตัว​แสดงห​ นึ่ง​
ใน​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ​ย่อม​หลีก​หนีบ​ริ​บท​ดัง​กล่าว​นี้​ไป​ไม่​ได้ ผลก​ระ​ทบ​จาก​ปราก​ฏ​การณ์​ดัง​กล่าว​ย่อม​ส่ง​
ผล​กับ​องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ทั้งใ​นท​ าง​บวกแ​ ละท​ างล​ บ​เช่น​เดียวกัน

       หลัง​จาก​สงครามโลก​ครั้ง​ที่ 2 เป็นต้น​มา องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​ระดับ​สากล​ต้อง
เ​ผชิญก​ ับก​ ระแสข​ องค​ วามร​ ่วมม​ ือร​ ะหว่างป​ ระเทศร​ ูปแ​ บบใ​หมท่​ ีท่​ ้าทายก​ ระแสเ​ดิมเ​พิ่มม​ ากข​ ึ้น กระแสภ​ ูมิภาคน​ ิยมเ​ป็น​
ความร​ ่วมม​ ือร​ ูปแ​ บบใ​หม่ท​ ี่ไ​ด้แ​ พร่ข​ ยายไ​ปท​ ุกภ​ ูมิภาคท​ ั่วโ​ลกซ​ ึ่งน​ ับว​ ่าเ​ป็นป​ รากฏ​ ก​ ารณ์ค​ ู่ข​ นานท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นก​ ับก​ ารป​ ฏิบัต​ิ
ภารกิจ​ของ​องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ในร​ ะดับส​ ากล ลักษณะค​ วามส​ ัมพันธ์​เชิงส​ ถาบันม​ ีค​ วาม​เปลี่ยนแปลงไ​ป​และม​ ีม​ ิติ​
ของ​ความร​ ่วมม​ ือใ​นด​ ้าน​ต่างๆ เพิ่มม​ าก​ขึ้น

       อุปสรรค​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​กรณี​ตัวอย่าง​จาก​การ​ปฏิบัติ​ภารกิจ​รักษา​สันติภาพ​ของ​สหประชาชาติ​
คือ​การ​ขาดเ​จตจำนงท​ างการ​เมืองแ​ ห่ง​รัฐ (political will of State) ซึ่งเ​ป็นอ​ ุปสรรค​ที่​สำคัญ​ใน​การนำเ​อา​ระบบค​ วาม​
มั่นคงร​ ่วม​กันม​ า​ปฏิบัติ​ใช้ รัฐต​ ่างล​ ังเล​ในก​ ารส​ ่ง​ทหาร​ไปร​ ่วม​ปฏิบัติ​การร​ ักษาก​ ับ​สหประชาชาติห​ ากร​ ัฐ​นั้นๆ ไม่​ได้​เป็น
​ผู้​บัญชาการ​เอง ดัง​กรณี​ตัวอย่าง สหรัฐอเมริกา​ปฏิเสธ​ส่ง​กอง​กำลัง​ไป​ช่วย​ปฏิบัติ​การ​รักษา​สันติภาพ​ภาย​ใต้​กอง​
กำลัง​รักษา​สันติภาพ​ของ​สหประชาชาติ (United Nations Protection Force: UNPROFOR) ใน​ยูโกสลาเวีย แต่​
สหรัฐอเมริกาก​ ลับส​ ่งก​ องก​ ำลังเ​ข้าไปใ​นม​ าเ​ซโ​ดเ​นีย (Macedonia) เพื่อป​ ้องกันก​ ารแ​ ทรกแซง​และบ​ ัญชาการ​กองก​ ำลัง​
ด้วย​ตนเอง หลังจ​ ากป​ ี 2000 เป็นต้น​มา สหประชาชาติต​ ้อง​ประสบ​กับ​ปัญหาก​ ารส​ นับสนุน​การเ​งิน​ที่​ตกต่ำซ​ ึ่งส​ วนท​ าง​
กับ​ภารกิจท​ ี่​เพิ่มม​ าก​ขึ้น รวม​ถึงภ​ ารกิจ​ฟื้นฟูร​ ัฐห​ ลังจ​ าก​สงคราม

       ปัญหา​การ​ปฏิบัติ​การ​อัน​ชอบ​ธรรม​ของ​มาตรการ​การ​บีบ​บังคับ​เพื่อ​รักษา​สันติภาพ​และ​ความ​มั่นคง หาก​
ปราศจากฉ​ นั ทาม​ ตข​ิ องค​ ณะม​ นตรค​ี วามม​ ัน่ คงท​ ัง้ 5 ประเทศ การท​ ำงานข​ องร​ ะบบค​ วามม​ ัน่ คงร​ ว่ มก​ นั ข​ องส​ หประชาชาต​ิ
กด​็ เ​ู หมอื นจ​ ะไ​มเ​่ ปน็ ผ​ ล การต​ ดั สนิ ใ​จเ​ขา้ แ​ ทรกแซงใ​นเ​รือ่ งใ​ดน​ ัน้ จ​ ะไ​ดร​้ บั ก​ ารพ​ จิ ารณาอ​ ยา่ งร​ ะมดั ระวงั เชน่ สหประชาชาต​ิ
เลือก​ที่​จะ​ไม่มี​ปฏิ​กิริยา​ตอบโต้​อย่าง​ชัดเจน​ใน​กรณี​พิพาท​จีน​กับ​ทิเบต​หรือ​ปัญหา​ความ​ขัด​แย้ง​ระหว่าง​อิสราเอล​กับ​
ปาเลสไตน์ ในท​ างต​ รงก​ นั ข​ า้ มส​ หประชาชาตก​ิ ลบั ล​ งโทษข​ ัน้ ร​ นุ แรงก​ บั อ​ ริ กั ก​ รณร​ี กุ รานค​ เู วตเ​มือ่ ป​ ี 1990 และส​ ถานการณ​์
ความร​ ุนแรง​ใน​โซมาเลียเ​มื่อป​ ี 1992 แต่​กลับ​เพิกเ​ฉย​ต่อเ​หตุการณ์ข​ องกอง​กำลังร​ ัส​เซียบุก​ เชช​เนีย (Chechnya) ในป​ ี
2000 เป็นต้น จาก​เหตุการณ์​ดัง​กล่าว​จะ​เห็น​ความ​ไม่​เสมอ​ภาค​ของ​มาตรการ​เข้า​แทรกแซง​และ​การ​ใช้​กำลัง​บีบ​บังคับ​
ของ​สหประชาชาติ​ที่​มีต​ ่อ​นานาป​ ระเทศ ที่​ใช้อ​ งค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​เป็นเ​วทีข​ องก​ ารป​ กป้องผ​ ลป​ ระโยชน์ข​ อง​ประเทศ​
ตนเองอ​ ยู่

         61 ขจิต จิตต​เสรี อ้าง​แล้ว หน้า 399

ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238