Page 228 - สังคมโลก
P. 228
8-34 สังคมโลก
จากคณะมนตรีค วามมั่นคงและรายงานให้ท ราบโดยทันที สหประชาชาติม ีกองก ำลังร ักษาส ันติภาพ (peacekeeping
force) และคณะผู้ส ังเกตการณ์ไปยังส ่วนต ่างๆ ทั่วโลกเพื่อฟื้นฟูสันติภาพแ ละข จัดความข ัดแย้งและส งคราม
หากการตัดสินใจโดยใช้กำลังโดยคณะมนตรีความมั่นคงไม่บรรลุผลเนื่องจากสมาชิกในคณะมนตรีความ
มั่นคงใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) จึงได้นำเอาหลักการร วมกันเพื่อสันติภาพ (Uniting of peace resolution) มาใช้ โดย
สมัชชาใหญ่แ ห่งส หประชาชาติสามารถยื่นม ือเข้าม าช่วยแก้ไขความร ุนแรงแ ทนค ณะมนตรีความม ั่นคงได้
การควบคุมและลดกำลังอาวุธ เป็นวิธีการหนึ่งที่จะทำให้เกิดสันติภาพโดยถาวรในสังคมโลก ในปัจจุบัน
สหประชาชาติยังค งค วบคุมและรณรงค์ล ดกำลังอ าวุธ อาวุธที่มีก ำลังท ำลายล ้างสูง เช่น อาวุธป รมาณู อาวุธเคมี และ
อาวุธชีวภาพ อาวุธตามแบบดั้งเดิม เช่น ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล อาวุธขนาดเล็กและอาวุธเบา และระบบเครื่องส่ง
อาวุธหรือขีปนาวุธ สนธิสัญญาไม่แ พร่ขยายอาวุธป รมาณู (Nuclear Non-Proliferation Treaty: NPT) กำหนดว ่า
ห้ามรัฐที่ครอบครองอาวุธปรมาณูส่งหรือช่วยให้ประเทศอื่นๆ ผลิตหรือครอบครองอาวุธปรมาณู และห้ามรัฐที่ไม่ได้
ครอบครองอาวุธปรมาณูรับ แสวงหา หรือขอความช่วยเหลือในการผลิตอาวุธปรมาณู และให้รัฐที่ไม่ได้ครอบครอง
อาวุธปรมาณูยอมรับข้อตกลงรักษาความปลอดภัยว่าจะไม่นำพลังงานปรมาณูโดยสันติไปดัดแปลงผลิตเป็นอาวุธ
ปรมาณู อย่างไรก็ตามก็ไม่ได้รับความร่วมมือจากบรรดารัฐต่างๆ เท่าที่ควรเนื่องจากรัฐที่ไม่มีอาวุธปรมาณูเรียกร้อง
ให้ร ัฐที่มีอ าวุธช นิดนี้ล ดและก ำจัดอ าวุธท ี่ครอบค รองไว้อย่างจริงจัง
ช่วงทศวรรษที่ 1970 สหประชาชาติรณรงค์ให้เป็นทศวรรษแห่งการลดอาวุธ ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้
สหรัฐอเมริกาและส หภาพโซเวียตเปิดก ารเจรจาล ดก ำลังอ าวุธโดยก ารเจรจาย อมรับข ้อต กลงในส นธิส ัญญาจ ำกัดอ าวุธ
ทางย ุทธศาสตร์ ฉบับที่ 1 (Strategic Arms Limitation Talks: SALT I) ในปี 1972 เป็นข้อต กลงช ั่วคราวท ี่ค วบคุม
ระบบต่อต้านขีปนาวุธให้มีขอบเขตจำกัดลง และจำกัดการติดอาวุธปรมาณูในสนธิสัญญาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์
ฉบับที่ 2 (Strategic Arms Limitation Talks: SALT II) สหประชาชาติมีความพยายามของที่จะลดและจำกัด
อาวุธปรมาณูเรื่อยม าจ นถึงสนธิสัญญาห ้ามทดลองอ าวุธปรมาณูโดยส มบูรณ์ (Comprehensive Nuclear Test Ban
Treaty: CTBT) มีสาระสำคัญคือห้ามรัฐภาคีทดลองอาวุธปรมาณูโดยสิ้นเชิงโดยครอบคลุมทั้งบรรยากาศ อวกาศ
และใต้น้ำ (Treaty Banning Nuclear Weapon Tests in the Atmosphere, in Outer Space und Under
Water)58
องคก์ ารร ะหวา่ งป ระเทศในร ะดบั ภ มู ภิ าค เชน่ อาเซยี นก ไ็ ดใ้ หก้ ารส นบั สนนุ ก ารท ำงานข องส หประชาชาตโิ ดยให้
ความส ำคญั เปน็ พ เิ ศษต อ่ ก ารก ำจดั อ าวธุ ป รมาณโู ดยส ิน้ เชงิ ในภ มู ภิ าค กลุม่ ป ระเทศส มาชกิ อ าเซยี นไดจ้ ดั ท ำส นธสิ ญั ญา
ว่าด้วยการจัดตั้งเขตปลอดอาวุธป รมาณูในเขตเอเชียตะวันอ อกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free
Zone – SEANWFZ) อันเป็นการแ สดงถ ึงเจตนารมณ์ในการล ดแ ละก ารไม่แพร่ข ยายอ าวุธปรมาณูต ามที่กำหนดไว้ใน
สนธิสัญญาไม่แ พร่ขยายอ าวุธป รมาณู (NPT) ของสหประชาชาติ
บทบาทท างเศรษฐกจิ ข องอ งค์การระหวา่ งประเทศ
การปฏิบัติภารกิจทางเศรษฐกิจถือว่าเป็นบทบาทที่สำคัญอีกประการขององค์การระหว่างประเทศที่จะช่วย
ส ง่ เสริมแ ละพ ัฒนาค วามเป็นอ ยทู่ ดี่ ขี องป ระชาชนท ัว่ โลก ในป จั จุบนั ถ งึ แ มว้ ่าจ ะม คี วามก า้ วหน้าท างเทคโนโลยอี ยา่ งม าก
ก็ตาม แต่ก็ยังมีประเทศด้อยพัฒนาอีกจำนวนไม่น้อยที่ประสบกับปัญหาทางเศรษฐกิจและไม่สามารถแก้ไขปัญหา
เหล่านั้นได้ด้วยต นเอง ยังต ้องพ ึ่งค วามร ่วมม ือและก ารช่วยเหลือจ ากน านาป ระเทศ ทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยหลายป ระการ
58 ปัจจุบันมี 165 ประเทศ ลงนามใน CTBT รวมทั้งมหาอำนาจทั้ง 5 ประเทศคือ อังกฤษ สหรัฐฯ รัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน โดยขมี
ประเทศท ี่ให้ส ัตยาบันแ ล้ว 92 ประเทศ ประกอบด ้วยป ระเทศท ี่ม ีศ ักยภาพข องอ าวุธป รมาณู 31 ประเทศ ทั้งนี้ สนธิส ัญญาจ ะม ีผ ลบ ังคับใช้ก ็ต ่อเมื่อ
ประเทศท ี่ม ีศักยภาพข องอาวุธปรมาณูร วม 44 ประเทศที่ม ีร ายชื่อในภาคผนวก 2 ต่อท้ายสนธิสัญญาได้ล งนามและให้สัตยาบัน CTBT แล้ว
ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช