Page 223 - สังคมโลก
P. 223

องค์การร​ ะหว่าง​ประเทศ 8-29

       หน่วยง​ าน​ อื่นๆ ที่เ​กี่ยวข้องก​ ับ​องค์การน​ านาร​ ัฐ​อเมริกัน​ใน​การด​ ำเนิน​โครงการต​ ่างๆ ระหว่างป​ ระเทศส​ มาชิก
​ยัง​สามารถ​ดำเนิน​การ​ภาย​ใต้​หน่วย​งาน​อิส​ระ​อื่นๆ ซึ่ง​อาจ​ได้​รับ​ความ​สนับสนุน​ด้าน​งบ​ประมาณ และ​เงิน​ทุน​บาง​ส่วน
หรือ​ทั้งหมด​จาก​องค์การ โดย​มี​ขอบข่าย​ความ​ร่วม​มือ​ครอบคลุม​ด้าน​การเกษตร สิ่ง​แวดล้อม แรงงาน ทรัพย์สิน​
ทาง​ปัญญา กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ การขนส่ง โทรคมนาคม การ​สาธารณสุข การ​เดิน​ทาง สถิติ​และ​การ​ท่อง​เที่ยว
เป็นต้น

อาเซียน

       อาเซียนห​ รือส​ มาคมป​ ระชาชาตแิ​ ห่งเ​อเชียต​ ะวันอ​ อกเ​ฉียงใ​ต้ (Association of South East Asian Nations:
ASEAN) ก่อ​ตั้ง​ขึ้น​โดย​ปฏิญญา​กรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ​วัน​ที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 โดย​สมาชิก​
ผู้​ก่อ​ตั้ง​มี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโ​ด​นิ​เซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มา​เลย์​เซียแ​ ละ​ไทย ต่อ​มา​ได้​มีป​ ระเทศต​ ่างๆ ในภ​ ูมิภาค​
เข้า​เป็น​สมาชิก​เพิ่ม​เติม ได้แก่ บรูไน​ดา​รุส​ซาลาม เวียดนาม ลาว พม่า และ​กัมพูชา จน​ทำให้​อาเซียน​มี​สมาชิก​ครบ
10 ประเทศ​ใน​เอเซีย​ตะวัน​ออก​เฉียง​ใต้ วัตถุประสงค์​หลัก​ของ​อาเซียน​เพื่อ​ส่ง​เสริม​ความ​ร่วม​มือ​เพื่อ​สันติภาพ​และ
​ความม​ ั่นคงของภ​ ูมิภาค และ​ความช​ ่วย​เหลือ​ทาง​เศรษฐกิจ​สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี รวม​ถึงส​ ่ง​เสริม​ความ​ร่วมม​ ือ
ระหว่าง​อาเซียน​กับ​ต่าง​ประเทศ เช่น อาเซียน +3 และ​อาเซียน +651 และ​กับ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​อื่น​ด้วย เช่น
การ​ประชุมอ​ าเซียน-ยุโรป (ASEAN-EU Meeting: ASEM) เป็นต้น

       เป็น​ที่​น่า​สังเกต​ว่า​อาเซียน​เป็น​องค์การ​ที่​ไม่มี​สมัชชา รัฐสภา​อาเซียน หรือ​คณะ​มนตรี​ต่างๆ ที่​ทำ​หน้าที่​ฝ่าย​
บริหาร บัญญัติ​หรือ​ตุลาการ​เหมือน​เช่น​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​อื่น อาเซียน​ไม่​ได้​เป็น​องค์การ​เหนือ​ชาติ​เป็น​เพียง​
องคก์ ารค​ วามร​ ว่ มม​ อื ร​ ะหวา่ งป​ ระเทศข​ องร​ ฐั ส​ มาชกิ ใ​นภ​ มู ภิ าคเ​ทา่ นัน้ การด​ ำเนนิ ง​ านข​ องอ​ าเซยี นเ​ปน็ ผ​ ลจ​ ากก​ ารป​ ระชมุ ​
หารือใ​น​ระดับห​ ัวหน้า​รัฐบาล ระดับ​รัฐมนตรี และเ​จ้า​หน้าที่อ​ าวุโสอ​ าเซียน การป​ ระชุมสุดยอด​เป็นการป​ ระชุม​ใน​ระดับ​
สงู สุดเ​พือ่ ก​ ำหนดแ​ นวน​ โยบายใ​นภ​ าพร​ วมแ​ ละเ​ปน็ โ​อกาสท​ ีป​่ ระเทศส​ มาชิกจ​ ะไ​ดร​้ ่วมก​ ันป​ ระกาศเ​ปา้ ห​ มายแ​ ละแ​ ผนง​ าน​
ของอ​ าเซียนใ​นร​ ะยะ​ยาว โดยก​ ารจ​ ัด​ทำ​เอกสารใ​น​รูปแ​ บบข​ อง​แผนป​ ฏิบัติ​การ (Action Plan) แถลงการณ์ร่วม (Joint
Declaration) ปฏิญญา (Declaration) ความต​ กลง (Agreement) หรือ​อนุสัญญา (Convention) ส่วน​การป​ ระชุม​
ใน​ระดับ​รัฐมนตรี​และ​เจ้า​หน้าที่​อาวุโส​จะ​เป็นการ​ประชุม​เพื่อ​พิจารณา​ทั้ง​นโยบาย​ใน​ภาพ​รวม และ​นโยบาย​เฉพาะ​ด้าน​
โดยจ​ ะ​หารือใ​น​ราย​ละเอียด​มากข​ ึ้น

       หน่วยง​ าน​ที่ท​ ำ​หน้าที่ป​ ระสาน​งาน​และต​ ิดตาม​ผล​การด​ ำเนิน​งานข​ อง​อาเซียนป​ ระกอบ​ไปด​ ้วยส​ ำนัก​เลขาธิการ​
อาเซียน (ASEAN Secretariat) ที่​กรุง​จาการ์ตา ประเทศ​อินโดนีเซีย เป็น​ศูนย์กลาง​ใน​การ​ติดต่อ​ระหว่าง​ประเทศ​
สมาชิก โดย​มี​เลขาธิการ​อาเซียน​เป็น​หัวหน้า​สำนักงาน​ดำรง​ตำแหน่ง​คราว​ละ 5 ปี และ​สำนักงาน​อาเซียน​แห่ง​ชาติ
(ASEAN National Secretariat) ซึ่ง​เป็น​หน่วย​งาน​ระดับ​กรม​ใน​กระทรวง​การ​ต่าง​ประเทศ​ของ​ประเทศ​สมาชิก​
อาเซียน มีหน้า​ที่​ประสาน​กิจการ​อาเซียน​ใน​ประเทศ​นั้น​และ​ติดตาม​ผล​การ​ดำเนิน​งาน สำหรับ​ประเทศ​ไทย​หน่​วย​งาน​
ที่ร​ ับ​ผิดช​ อบค​ ือ​กรม​อาเซียน กระทรวง​การ​ต่างป​ ระเทศ

       อาเซยี นต​ ัง้ เ​ปา้ ท​ จี​่ ะบ​ รรลข​ุ อ้ ต​ กลงก​ ารค​ า้ เ​สรท​ี กุ ฉ​ บบั ก​ บั จ​ นี ญีป่ ุน่ เกาหลใี ต้ อนิ เดยี ออสเตรเลยี แ​ ละน​ วิ ซแี ลนด​์
ภายในป​ ี ค.ศ. 2013 ไปพ​ รอ้ มก​ บั ก​ ารก​ อ่ ต​ ัง้ ป​ ระชาคมเ​ศรษฐกจิ อ​ าเซียน ภายในป​ ี ค.ศ. 2015 รวมถ​ ึงก​ ลุ่มป​ ระเทศส​ มาชิก​
อาเซียน​ได้​ลง​นาม​ใน​กฎบัตร​อาเซียน​ใน​ปี ค.ศ. 2007 ซึ่ง​เป็น​กฎ​ข้อ​บังคับ​ใน​การ​ดูแล​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ​
สมาชิกก​ ลุ่ม​อาเซียน และย​ กร​ ะดับ​กลุ่ม​อาเซียนใ​ห้​เป็น​องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศอ​ ย่าง​ถูก​ต้อง​ตามก​ ฎหมาย

         51 อาเซียน +3 คือ จีน ญี่ปุ่น และเ​กาหลีใต้ และอ​ าเซียน +6 คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอ​ ินเดีย

                              ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228