Page 219 - สังคมโลก
P. 219
องค์การร ะหว่างประเทศ 8-25
รายละเอียดเรื่องต่างๆ ที่จำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรหลักเพื่อลดภาระขององค์กรหลักและให้องค์กรหลัก
ดำเนินไปอ ย่างมีประสิทธิภาพแ ละบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์การร ะหว่างป ระเทศ
นอกจากนี้ ยังมีทบวงการชำนัญพิเศษ45 ที่รับผิดชอบทางด้านเศรษฐกิจ การเงินการธนาคาร คมนาคม
โทรคมนาคม แรงงาน หรืออนามัย มีฐานะเป็นองค์การร ะหว่างประเทศหรือระหว่างรัฐบาลประเภทหนึ่งที่แ ยกต่างห าก
จากสหประชาชาติ มีอำนาจห น้าที่อิสระ มีโครงสร้างทางสถาบัน มีสมัชชาและค ณะม นตรีข องต นเอง ซึ่งบางองค์การ
อาจจะเรียกเป็นอย่างอ ื่นแต่ท ำหน้าที่ในล ักษณะเดียวกัน และม ีอำนาจต ัดสินใจเป็นข องต นเอง ทบวงก ารชำนัญพิเศษ
เหล่าน ีแ้ ตกต ่างจ ากอ งคก์ รข องส หประชาชาติ เพราะอ งคก์ รข องส หประชาชาตขิ ึน้ ก บั ส หประชาชาตโิ ดยตรงท ั้งโครงสรา้ ง
ทางส ถาบันและก ารปฏิบัติห น้าที่
ในก ฎบัตรส หประชาชาติมาตรา 57 วรรค 1 ระบุว่า “ทบวงการช ำนัญพิเศษต่างๆ ที่ได้สถาปนาขึ้นโดยต าม
ความตกลงร ะหว่างร ัฐบาลและม ีความร ับผ ิดช อบระหว่างประเทศอย่างกว้างขวางในด ้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
การศึกษา อนามัย และอื่นๆ ที่น ิยามไว้ในเอกสารก ่อตั้งของตน จะต้องนำเข้ามาสู่ความสัมพันธ์ก ับส หประชาชาติต าม
บทบัญญัติในมาตรา 63” และมาตรา 68 ระบุว่า “องค์การจะให้คำแนะนำส ำหรับป ระสานน โยบายแ ละกิจกรรมของ
ทบวงการชำนัญพิเศษ”46
ทบวงการชำนัญพิเศษเหล่านี้ร่วมมือกับสหประชาชาติโดยมีข้อตกลงระหว่างกันโดยผ่านความเห็นชอบ
จากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือทบวงการชำนัญพิเศษเป็นองค์การระหว่างประเทศที่เข้ามา
อยู่ในเครือสหประชาชาติโดยความตกลงระหว่างกัน ดังนั้นทบวงการชำนัญพิเศษจึงแตกต่างจากองค์กรรองของ
องค์การระหว่างประเทศและสหประชาชาติ ความตกลงต่างๆ มักจะเกี่ยวข้องทางด้านวิทยาการเฉพาะด้านตาม
แต่ละทบวงการชำนัญพิเศษมีความถนัด นอกจากนี้ความตกลงยังรวมถึงการตั้งผู้แทนไปประจำระหว่างกัน การ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เอกสาร รายงานต่างๆ การประสานงานด้านสถิติ และข้อผูกพันของความร่วมมือและ
การบริหารบุคคลอ ีกด ้วย
ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันท ี่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1946 นับว่าเป็นส มาชิก
ลำดับที่ 55 จากทั้งหมด 192 ประเทศ ตามกฎบัตรสหประชาชาติ องค์กรที่มีหน้าที่พิจารณารับสมาชิกใหม่คือ
คณะม นตรีค วามม ั่นคงแ ละส มัชชาใหญ่ โดยที่ส มัชชาใหญจ่ ะล งม ตริ ับไดก้ ต็ ่อเมื่อค ณะม นตรคี วามม ั่นคงม มี ตคิ ะแนน
เสียงส่วนใหญ่รับสมาชิกใหม่ซึ่งจำนวนนั้นจะต้องได้ 5 เสียงเอกฉันท์ของสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคง
ด้วย หลังจากนั้นคณะมนตรีความมั่นคงก็ให้คำแนะนำไปยังสมัชชาใหญ่ว่าสมควรจะรับสมาชิกใหม่ได้ สมัชชาใหญ่
ก็จะประชุมพ ิจารณาล งม ติรับสมาชิกใหม่ ในข ั้นตอนของก ารพ ิจารณาข องค ณะมนตรีค วามมั่นคง ถ้าสมาชิกถาวรของ
คณะมนตรีความมั่นคงรัฐใดรัฐหนึ่งคัดค้านการสมัครเข้าเป็นสมาชิกของรัฐใดนั้นก็จะหมดสิทธิเข้าเป็นสมาชิก
สหประชาชาติ และต้องเริ่มขั้นตอนใหม่จ นกว่าจะได้รับเสียงดังก ล่าวต ามเงื่อนไขข้างต้น
45 องค์การอ าหารแ ละก ารเกษตร (Food and Agriculture Organisation: FAO) ธนาคารร ะหว่างป ระเทศเพื่อก ารฟ ื้นฟแู ละก ารพ ัฒนา
(International Bank for Reconstruction and Development: IBRD) หรือธนาคารโลก (World Bank) องค์การการบินพลเรือนระหว่าง
ประเทศ (International Civil Aviation Organisation: ICAO) กองทุนการเงินระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาเกษตรกรรม (International
Fund for Agricultural Development: IFAD) องค์การแ รงงานร ะหว่างป ระเทศ (International Labour Organisation: ILO) กองทุนก าร
เงินร ะหว่างป ระเทศ (International Monetary Fund: IMF) องค์การศ ึกษาวิทยาศ าสตร์และวัฒนธรรมแ ห่งสหประชาชาติ (United Nations
Educational Scientific and Cultural Organisation: UNESCO) องค์การอ นามัยโลก (World Health Organisation: WHO) และอ งค์การ
อุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organisation: WMO) เป็นต้น
46 สมพงศ์ ชูม าก อ้างแล้ว หน้า 103
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช