Page 218 - สังคมโลก
P. 218
8-24 สังคมโลก
ทรัสตี การป กครองดูแลด ินแ ดนในภาวะท รัสตีจ ะต้องอ ยู่ภายใต้การด ูแลของคณะมนตรีภาวะทรัสตี ยกเว้นดินแดนท ี่
กำหนดว่าเป็นเขตย ุทธศาสตร์จะอยู่ภ ายใต้ก ารดูแลของค ณะมนตรีความมั่นคง หลังจากส าธารณรัฐปาเลา (Republic
of Palau) ในม หาสมุทรแปซิฟิกได้ร ับเอกราชจากสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1994 ซึ่งถือว่าเป็นรัฐสุดท้าย
ในภ าวะทรัสตีของสหประชาชาติ คณะม นตรีภาวะท รัสต ีจีงมีมติห ยุดปฏิบัติห น้าที่เมื่อวันท ี่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1994
เหลือเพียงการประชุมประจำปีในภาวะปรกติเท่านั้น ยกเว้นในกรณีพิเศษหรือหากมีการร้องขอให้กลับมาปฏิบัติ
หน้าที่ไ ด้43
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) เป็นองค์กรที่มีความเป็นอิสระ มีวัตถุ-
ประสงค์หลักในการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศด้วยสันติวิธีโดยอาศัยข้อบังคับของกฎหมายระหว่างประเทศ
องค์ประกอบของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศมีคณะองค์ผู้พิพากษา 15 คนซึ่งห้ามมิให้ผู้พิพากษามีสัญชาติเหมือน
กันโดยผ่านการคัดเลือกจากสมัชชาใหญ่และคณะมนตรีความมั่นคงร่วมกัน อยู่ในวาระคราวละ 9 ปี ในมาตรา 10
ของธ รรมนูญศ าลย ุติธรรมร ะหว่างป ระเทศร ะบุว ่า ศาลย ุติธรรมร ะหว่างป ระเทศม ีอ ำนาจพ ิจารณาค ดีเฉพาะภ าคีท ี่เป็น
รัฐ หรืออีกน ัยห นึ่งคือร ัฐเท่านั้นท ี่เป็นคู่กรณีต่อศ าลได้ และม าตรา 65 กำหนดว ่าศาลอาจให้ค วามเห็นแนะนำป ัญหา
กฎหมายในกรณีที่สมัชชาใหญ่หรือคณะมนตรีความมั่นคงหรืองค์กรต่างๆ ของสหประชาชาติมีการร้องขอ การให้
ความเห็นแนะนำปัญหากฎหมายนี้ไม่ใช่คำพิพากษา ตามหลักทั่วไปของกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐจะถูกบังคับ
ให้ขึ้นศาลระหว่างประเทศไม่ได้ กล่าวคือ เมื่อมีกรณีพิพาทเกิดขึ้น ศาลจะมีอำนาจพิจารณาคดีได้ก็ต่อเมื่อคู่กรณี
ทั้งสองฝ่ายยินยอมให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นผู้ตัดสิน หรือคู่กรณีทั้งสองฝ่ายตกลงล่วงหน้ากันไว้แล้วว่า
ถ้าเกิดข้อพิพาทในเรื่องนั้นๆ จะให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นผู้ตัดสิน จากเหตุผลดังกล่าวมานี้ ศาลยุติธรรม
ระหว่างประเทศมักประสบกับปัญหาจากการที่บรรดารัฐทั้งหลายอ้างอธิปไตยของตนเองและศาลยุติธรรมระหว่าง
ประเทศห รือสหประชาชาติไม่ส ามารถบังคับให้รัฐต ่างๆ ปฏิบัติต ามคำต ัดสินได้
สำนักเลขาธิการ (Secretariat) ทำห น้าที่บ ริหารง านข องส หประชาชาติ มีเลขาธิการส หประชาชาติเป็นผ ู้บ ริหาร
สงู สดุ โดยไดร้ ับก ารแ ต่งต ั้งจ ากส มัชชาใหญด่ ้วยค ะแนนเสยี งไมต่ ำ่ ก ว่าส องในส ามข องส มาชิกท ัง้ หมดโดยค ำแ นะนำข อง
คณะม นตรีค วามม ั่นคง อยู่ในต ำแหน่งคราวละ 5 ปี นอกเหนือจ ากม ีหน้าท ี่จัดการป ระชุมแ ละประสานแผนงานต ่างๆ
ของอ งค์กรท ั้งห ลายข องส หประชาชาติแ ล้ว เลขาธิการย ังม ีบทบาทท างการเมืองร ะหว่างป ระเทศท ี่สำคัญห ลายป ระการ
เช่น รายงานส ถานการณท์ ีก่ ระทบต ่อค วามม ั่นคงร ะหว่างป ระเทศใหแ้ กค่ ณะม นตรคี วามม ั่นคงท ราบ การเป็นเลขานุการ
ให้ที่ประชุมสมัชชา คณะมนตรีความมั่นคง คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม และคณะมนตรีภาวะทรัสตีในอดีต
อีกด้วย
องค์กรรอง คือองค์กรที่ได้รับการก่อตั้งขึ้นตามความจำเป็นโดยอำนาจของสหประชาชาติและโดยหลักการ
แล้วก ่อต ั้งโดยอ งค์กรห ลักเพื่อให้การป ฏิบัตหิ น้าทีข่ องอ งค์กรห ลักด ำเนินไปอ ย่างม ปี ระสิทธิภาพ อย่างไรก ็ตามแ นวคิด
ในวิชาก ฎหมายองค์การระหว่างประเทศค วรพิจารณาแยกแยะร ะหว่างอ งค์กรท ี่ก่อตั้งจ ากตราสารก่อตั้งก ับอ งค์กรซึ่ง
ก่อตั้งจากองค์กรห ลักห รืออ งค์กรห ลักม อบอ ำนาจอ อกไป แม้หลักก ารท ั่วไปจ ะเป็นแ นวท าง กว ้างๆ ในก ารจัดป ระเภท
องค์กร แตก่ อ็ าจจ ะม กี รณยี กเวน้ ท ีอ่ งค์กรก ่อต ัง้ โดยต ราสารก อ่ ต ัง้ อ าจจ ะม ิใชอ่ งค์กรห ลกั เสมอไป และอ งคก์ รห ลกั เองก ็
อาจจ ะต ัง้ อ งคก์ รอ ืน่ ๆ ทมี่ ใิ ชอ่ งคก์ รร องข ึน้ ม าก ไ็ ด้44 ดงั น ัน้ อ งคก์ รท ตี่ ัง้ ข ึน้ โดยต ราสารก อ่ ต ัง้ น ัน้ จ ะม ลี กั ษณะเปน็ อ งคก์ ร
ตามธรรมนูญขององค์การระหว่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงใดๆ ต้องเป็นไปต ามกระบวนการที่ก ำหนดไว้ในตราสาร
ก่อต ั้ง องค์กรร องอื่นๆ ที่ต ั้งข ึ้นมาเป็นคณะก รรมการป ระจำ (Standing Committee) และคณะก รรมการเฉพาะก ิจ
(Ad hoc Committee) รวมถึงคณะกรรมาธิการต่างๆ (Commissions) เหล่านี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยพิจารณา
43 http://www.un.org/en/mainbodies/trusteeship/ (10 พ.ค. 2554)
44 ขจิต จิตตเสรี อ้างแ ล้ว หน้า 103
ลขิ สิทธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช