Page 213 - สังคมโลก
P. 213

องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ 8-19

       นานาชาติ​นิยม คือ การ​ที่​การ​ทำงาน​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ดำเนิน​ไป​ใน​ลักษณะ​ที่​ยึด​หลัก​ให้​ความ
ส​ ำคัญ​ต่อ​รัฐ​แต่ละ​รัฐ​ที่​เข้า​มา​อยู่ร​ ่วมใ​น​องค์การ คล้ายๆ กับว​ ่าอ​ งค์การ​ก็ค​ ือ​สมาคม​ของ​รัฐ (Association of States)
ที่​รัฐ​เข้าม​ า​ร่วมด​ ้วยค​ วามเ​ต็มใจ ยอมรับ​กฎข​ ้อ​บังคับต​ ่างๆ ที่ต​ น​ช่วยก​ ันก​ ำหนด​ขึ้น​องค์การม​ ีหน้า​ที่​ช่วยใ​ห้​รัฐ​สามารถ​
บรรลวุ​ ัตถุประสงคท์​ ีม่​ ุ่งห​ วัง30 รัฐส​ มาชิกย​ ึดม​ ั่นใ​นอ​ ธิปไตยข​ องร​ ัฐต​ น บางค​ รั้งเ​รียกอ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศใ​นล​ ักษณะ​
นีว้​ ่าเ​ป็นอ​ งค์การร​ ะหว่างร​ ัฐบาล (Intergovernmental organisation) ซึ่งจ​ ะไ​มท่​ ำตัวม​ อี​ ิทธิพลเ​หนือก​ ารต​ ัดสินใ​จเ​หนือ​
บรรดาร​ ัฐส​ มาชิก หรือพ​ ยายาม​ให้ร​ ัฐส​ มาชิก​สละอ​ ำนาจ​อธิปไตย​บางส​ ่วน​ให้​กับอ​ งค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ หรือ​เข้าไปท​ ำ​
หนา้ ทบี​่ างอ​ ยา่ งแ​ ทนร​ ฐั ส​ มาชกิ โ​ดยทรี​่ ฐั ส​ มาชกิ ไ​มใ​่ หค​้ วามย​ นิ ยอม ในท​ างต​ รงก​ นั ข​ า้ มอ​ งคก์ ารร​ ะหวา่ งป​ ระเทศใ​นล​ กั ษณะ​
นีจ้​ ะท​ ำห​ น้าที่เ​ป็นส​ ื่อก​ ลางเ​พื่อป​ ระสานง​ านใ​หบ้​ รรดาร​ ัฐส​ มาชิกม​ าพ​ บปะเ​จรจาต​ กลงเ​พื่อแ​ ก้ไขป​ ัญหาต​ ่างๆ ร่วมก​ ัน และ​
ประสานผ​ ลป​ ระโยชน์ข​ องอ​ งค์การแ​ ละร​ ัฐส​ มาชิกเ​พื่อน​ ำน​ โยบายแ​ ละข​ ้อต​ กลงไ​ปส​ ูก่​ ารป​ ฏิบัติ วิธดี​ ำเนินก​ ารข​ องอ​ งค์การ​
มักจ​ ะใ​ช้ว​ ิธีก​ ารโ​น้มน​ ้าวห​ รือใ​ช้ก​ ารเ​จรจาเ​พื่อใ​ห้ร​ ัฐส​ มาชิกป​ ฏิบัติต​ ามข​ ้อต​ กลงท​ ี่ไ​ด้ต​ กลงก​ ันไ​ว้ โดยอ​ งค์การไ​ม่มีอ​ ำนาจ​
บังคับ สั่งก​ าร​หรือล​ งโ​ทษใ​ดๆ ถ้าห​ าก​รัฐ​สมา​ชิก​ นั้นๆ ไม่​ปฏิบัติต​ าม อย่างไร​ก็ตาม​ องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ​ประเภทน​ ี้​
ไม่​สามารถ​ดำเนิน​การ​ไป​ได้​อย่าง​ราบ​รื่น​มาก​นัก​เพราะ​มี​ขอบเขต​ที่​จำกัด​และ​ขาด​อำนาจ​บังคับ​เด็ด​ขาด​เหนือ​รัฐ​สมาชิก
ดัง​นั้น ​องค์การ​ลักษณะ​นี้​จึง​จำเป็น​ต้อง​มี​อำนาจ​ใน​การ​ออก​กฎ​ระเบียบ​บาง​ประการ​เพื่อ​ให้​องค์การ​ดำรง​อยู่​และ​
ดำเนินก​ าร​ต่อ​ไปไ​ด้ เช่น สมาคม​ประชาชาติ​แห่ง​เอเชีย​ตะวันอ​ อก​เฉียงใ​ต้​หรือ​อาเซียน (Association of Southeast
Asian Nations: ASEAN) เป็นต้น

       เหนือ​ชาตินิยม คือ องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​มี​อำนาจ​อยู่​เหนือ​บรรดา​รัฐ​สมาชิก​ต่างๆ ได้​มาก​พอ​สมควร
องคก์ ารล​ กั ษณะน​ จี​้ ะม​ ค​ี วามเ​ปน็ เ​อกเทศค​ อ่ นข​ า้ งม​ าก ไมอ​่ ยภู​่ ายใ​ตก​้ ารค​ วบคมุ ข​ องร​ ฐั แ​ ละม​ อ​ี สิ ระใ​นก​ ารด​ ำเนนิ น​ โยบาย​
หรือก​ ิจกรรมก​ ารเมืองร​ ะหว่างป​ ระเทศ องค์ก​ าร​ ะหว่างป​ ระเทศเ​หนือช​ าตินิยมน​ ี้ม​ ีล​ ักษณะแ​ ละห​ น้าที่บ​ างป​ ระการค​ ล้าย​
กับร​ ัฐบาลข​ องร​ ัฐต​ ่างๆ ซึ่งเ​หมือนก​ ับร​ ัฐบาลโ​ลก31 องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศแ​ บบเ​หนือช​ าตินิยมจ​ ะม​ ีผ​ ู้แ​ ทนข​ องร​ ัฐต​ ่างๆ
ทำ​หน้าที่​กำหนด​นโยบาย​และ​บริหาร​องค์การ​โดย​เป็น​อิสระ​จาก​รัฐบาล​ของ​ตน ร่วม​ถึง​เป็น​ฝ่าย​นิติบัญญัติ​เพื่อ​ออก​
กฎหมาย ระเบียบ​หรือ​มติ​เพื่อ​บังคับ​ใช้​กับ​บรรดา​รัฐ​สมา​ชิก​โดย​ส่วน​รวม ซึ่ง​กฎ​ระเบียบ​ต่างๆ มี​บท​ลงโทษ​เหนือ​รัฐ​
สมา​ชิกใ​ห้​ปฏิบัติต​ าม​องค์การร​ ะหว่างป​ ระ​เทศ​นั้นๆ ใน​ปัจจุบัน องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศแ​ บบ​เหนือช​ าติ​ที่เ​ห็น​ได้ช​ ัด​คือ​
สหประชาชาติ​และ​สหภาพ​ยุโรป (European Union)

       3.	 องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ที่แ​ บ่งต​ าม​จุด​มุ่งห​ มาย แบ่งย​ ่อย​ออก​เป็น 2 ลักษณะ คือ
       องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​ท่ัวไป จะ​เน้น​เรื่อง​สันติภาพ​และ​การ​แก้ไข​ปัญหา​ข้อ​พิพาท​ระหว่าง​
ประเทศ เช่น สันนิบาตช​ าติ สหประชาชาติ และอ​ งค์การน​ านาร​ ัฐอ​ เมริกัน (Organization of American States: OAS)
ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่เ​ป็นอ​ งค์การ​ทางการเ​มือง
       องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​มี​จดุ ​มุ่ง​หมาย​เฉพาะ​ด้าน เช่น องค์การเ​พื่อค​ วาม​ร่วมม​ ือ​การพ​ ัฒนาท​ างเ​ศรษฐกิจ
(Organisation for Economic Co-operation and Development: OECD) องค์การท​ างเ​ทคนิค​ต่างๆ เช่น สหภาพ​
โทรคมนาคมร​ ะหว่าง​ประเทศ (International Telecommunication Union: ITU) องค์การก​ ารบ​ ิน​พลเรือน​ระหว่าง​
ประเทศ (International Civil Aviation Organisation: ICAO) องค์การอ​ นามัย​โลก (World Health Organisa-
tion: WHO) องค์การก​ าร​ค้า​โลก (World Trade Organisation: WTO) องค์การ​สนธิส​ ัญญา​แอตแลนติก​เหนือ​หรือ​
นา​โต้ (North Atlantic Treaty Organisation: NATO) และอ​ งค์การก​ าร​ประชุม​อิสลาม (Organisation of the
Islamic Conference: OIC) เป็นต้น

         30 ธาร​ทอง ทอง​สวัสดิ์ อ้าง​แล้ว หน้า 620
         31 เพิ่งอ​ ้าง หน้า 621

                              ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218