Page 210 - สังคมโลก
P. 210

8-16 สังคม​โลก

       พัฒนาการ​ของ​การ​ร่วม​กลุ่ม​เป็น​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ไม่​ได้​มี​เฉพาะ​ใน​ระดับ​สากล​เท่านั้น หาก​แต่​ยัง​มี​
พัฒนาการ​ของ​การ​รวม​กลุ่ม​ใน​ระดับ​ภูมิภาค​อีก​ด้วย แนว​ความ​คิด​ภูมิภาค​นิยม (Regionalism) เน้น​องค์​ประกอบ​
ของส​ ภาพท​ ี่ต​ ั้งท​ างภ​ ูมิศาสตร์​ของป​ ระเทศ​ที่อ​ ยู่ใ​น​ภูมิภาค​เดียวกัน26 เน้นภ​ ารกิจ​ทาง​ด้าน​การเมือง​และ​การ​ทหาร ตาม​
หลัก​แล้ว​ควร​จะ​ต้อง​มี​การ​รวม​ตัว​กัน​อย่าง​เหนียว​แน่น​มั่นคง โดย​พร้อม​ที่​จะ​ปกป้อง​คุ้มครอง​ตัว​เอง​ได้​เป็น​อย่าง​ดี
และ​เต็มใจ​ที่​จะ​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​รับ​ภาระ​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ร่วม​กัน27 ความ​คิด​ดัง​กล่าว​นี้​มี​ส่วน​ผลัก​ดัน​ให้​เกิด​
ปฏิญญา อนุสัญญา ข้อต​ กลง และอ​ งค์การร​ ะหว่าง​ประเทศร​ ะดับภ​ ูมิภาคต​ ่างๆ ขึ้น ส่วนใ​หญ่อ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​
ระดับ​ภูมิภาค

       อัน​ที่​จริง​แล้วก​ ารจ​ ัดต​ ั้ง​องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ระดับภ​ ูมิภาค (Regional Organisation) ได้ถ​ ือ​กำเนิด​ก่อน​
การจ​ ัดต​ ั้งอ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศร​ ะดับส​ ากล เนื่องจากก​ ารร​ วมก​ ลุ่มม​ ีข​ นาดเ​ล็กก​ ว่าอ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศใ​นร​ ะดับ​
สากล ดังน​ ั้น ใ​นก​ ารต​ ัดสินใ​จจ​ ะม​ ีค​ วามค​ ล่องต​ ัวแ​ ละย​ ืดหยุ่นม​ ากกว่า โดยเ​ฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่งใ​นเ​รื่องก​ ารร​ ักษาค​ วามม​ ั่นคง​
และ​สันติภาพ​ซึ่ง​ต้อง​อาศัย​ความ​รวดเร็ว​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​และ​แก้ไข​ปัญหา องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ระดับ​ภูมิภาค​ที่​
เก่า​แก่​ที่สุด​องค์การ​หนึ่ง​ของ​โลก​คือ​องค์การ​นานา​รัฐ​อเมริกัน​ซึ่ง​ถือ​เป็น​องค์การ​ป้องกัน​ภูมิภาค​ที่​มี​ผล​ประโยชน์​ทาง
ด​ ้านก​ ารท​ หารแ​ ละก​ ารเมือง แนวค​ วามค​ ิดข​ องก​ ารร​ วมก​ ลุ่มข​ ึ้นเ​ป็นอ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศใ​นภ​ ูมิภาคน​ ีไ้​ดแ้​ พรก่​ ระจาย​
ออก​ไป​ทั่ว​ทุก​ภูมิภาค​ใน​โลก เป็น​ปราก​ฏการณ์​ของ​พัฒนาการ​ของ​องค์การ​ระ​หว่าง​ประเทศ​ที่​ควบคู่​ขนาน​กัน​ไป​ทั้ง​ใน​
ระดับส​ ากลแ​ ละใ​นร​ ะดับภ​ ูมิภาค ดังจ​ ะเ​ห็นไ​ดจ้​ ากก​ ารท​ ีภ่​ ูมิภาคต​ ่างๆ มอี​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศข​ องต​ นอ​ ยู่ เช่น สหภาพ​
ยุโรป สมาคมป​ ระชาชาติ​แห่ง​เอเชีย​ตะวัน​ออกเ​ฉียง​ใต้ สหภาพ​แอฟริกา และ​สันนิบาต​อาหรับ เป็นต้น

  กิจกรรม 8.1.2
         ใน​ช่วง​ศตวรรษ​ที่ 20 มี​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ระดับ​สากล​องค์การ​อะไร​และ​มี​วัตถุประสงค์​ด้าน​ใด​

  บ้าง

  แนวตอบ​กจิ กรรม 8.1.2
         องค์การร​ ะหว่าง​ประเทศใ​นร​ ะดับ​สากล​ทส่​ี ำคัญ 2 องค์การ​ไดแ้ ก่ สนั นิบาต​ชาติ (League of Nations)

  ในช​ ่วงห​ ลงั ​สงครามโลก​ครัง้ ​ท่ี 1 และ​สหประชาชาติ (United Nations) ใน​ชว่ งห​ ลงั ​สงครามโลกค​ รัง้ ท​ ่ี 2 องค์การ​
  ระหวา่ งป​ ระเทศท​ งั้ 2 องคก์ ารป​ ระกอบไ​ปด​ ว้ ยร​ ฐั ส​ มาชกิ จ​ ากท​ ว่ั โ​ลก มข​ี อบเขตค​ วามร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบท​ ก​ี่ วา้ งข​ วางแ​ ละ​
  มี​บทบาท​ที่​ซับ​ซ้อน​มาก โดย​มี​วัตถุประสงค์​เพ่ือ​รักษา​สันติภาพ​และ​ความ​มั่นคง​ระหว่าง​ประเทศ​ไป​จนถึง​การ​
  ​สง่ ​เสริมค​ วามร​ ่วม​มือ​ใน​ด้าน​ต่างๆ เช่น เศรษฐกจิ สงั คม​และ​วฒั นธรรม

         26 มี​ข้อ​โต้​แย้ง​ที่​น่า​สนใจ​คือ​ประเทศ​สมาชิก​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ระดับ​ภูมิภาค​จำเป็น​หรือ​ไม่​ที่​ต้อง​อยู่​ใน​ภูมิภาค​เดียวกัน เช่น
องค์การ​สนธิ​สัญญา​ป้องกัน​แอตแลนติก​เหนือ​หรือ​นา​โต้ (NATO) ไม่​ได้​ยึดถือ​สมาชิก​ที่​อยู่​ใน​ภูมิภาค​เดียวกัน​เป็น​เรื่อง​สำคัญ และ​องค์การ​นานา​
รัฐอ​ เมริกัน (OAS) ก็ไ​ม่​ได้ม​ ีป​ ระเทศ​แคนาด​ าเ​ป็น​สมาชิกข​ อง​องค์การ​นี้​ด้วย เป็นต้น

         27 ศิ​โร​ตม์ ภาคส​ ุวรรณ ความส​ ัมพันธ์​ระหว่างป​ ระเทศ​เบื้องต​ ้น คณะ​รัฐศาสตร์ สำนัก​พิมพ์ม​ หาวิทยาลัย​รามคำแหง 2538 หน้า 222

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215