Page 207 - สังคมโลก
P. 207
องค์การระหว่างประเทศ 8-13
ใช้อำนาจในการกำหนดกฎระเบียบหรือมาตรการบางอย่างขึ้นมาเพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติในการดำเนินกิจการระหว่าง
ประเทศ อีกทั้งยังใช้เป็นเวทีถกเถียง อภิปรายและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาแก่ประเทศสมาชิกด้วยเช่นกัน เช่น
คองเกรสแห่งป ารีส (Congress of Paris) ปี 1856 การป ระชุมลอนดอน (London Conferences) ในปี 1817 และ
ปี 1912-1913 คองเกรสแ ห่งเบอร์ลิน (Berlin Congresses) ปี 1878 และปี 1874-1875 รวมถึงการป ระชุมการท ูต
และตุลาการที่กรุงเฮก (Hague Conference) ปี 1899 และปี 1907 เพื่อวางมาตรการและระเบียบในการแก้ไข
ข้อพิพาทในยามสันติที่ใช้ในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมถึงการหามาตรการบางประการด้านสิทธิ
มนุษยชนในยามสงคราม การป ระชุมท ี่กรุงเฮกนี้แ ตกต ่างจากคองเกรสแ ห่งเวียนนาซ ึ่งเป็นท ี่ประชุมข องมหาอำนาจท ี่
เน้นด ้านการแก้ไขปัญหาข้อพ ิพาทท ี่เกิดขึ้นเพื่อร ักษาส ันติภาพ
อย่างไรก็ตามถ้าพิจารณากันอย่างจริงจังแล้ว ระบบคองเกรสไม่ถือว่าเป็นองค์การระหว่างประเทศเพราะว่า
ระบบค องเกรสไม่มีห น่วยง านแ ละเจ้าห น้าที่ป ระจำถ าวร อีกท ั้งไม่ได้ม ีก ารจ ัดการป ระชุมก ันอ ย่างส ม่ำเสมอ มหาอำนาจ
ต่างเห็นว่าระบบคองเกรสนี้เป็นเสมือนกลไกในรูปแบบสถาบัน (Institutional mechanism) ที่ช่วยในการประสาน
ความสัมพันธ์ก ับม หาอำนาจอ ื่นเพื่อล ดกรณีพิพาทเล็กๆ น้อยๆ ระหว่างก ันในการแสวงหาผ ลประโยชน์จ ากบรรดาร ัฐ
เล็กๆ รวมถ ึงค วามเห็นช อบในน โยบายใหม่ๆ ที่บรรดาม หาอำนาจจ ะด ำเนินการ
ระบบสถาบันการปฏิบัติหน้าที่การเมืองระดับต่ำเป็นผลสืบเนื่องจากการพัฒนาการด้านเศรษฐกิจและ
เทคโนโลยีซ ึ่งเป็นผ ลจ ากพ ลวัตข องก ารป ฏิวัติอ ุตสาหกรรมได้ก ่อให้เกิดค วามต ้องการร ่วมม ือร ะหว่างป ระเทศเพื่อก าร
บริหารจัดการ การอำนวยความส ะดวกและการปรับปรุงระบบก ารแ ลกเปลี่ยนและก ารต ิดต่อสื่อสาร รวมถึงการข นส่ง
ระหว่างกันให้ด ีย ิ่งข ึ้น ซึ่งเป็นการพัฒนาด ้านโครงสร้างก ารบ ริหารร่วมกัน ลักษณะความร ่วมม ือระหว่างป ระเทศแ บบ
นี้เป็นค วามร่วมม ือข องอ งค์การเฉพาะด้านต ามภารกิจ (Functional organisation) เช่น คณะกรรมาธิการแม่น ้ำไรน์
(Rhine Commission) และกรรมาธิการแม่น้ำดานูบยุโรป (European Danube Commission) หลังจากนั้นยังมี
องค์การอื่นๆ อีก เช่น อนุสัญญาว่าด้วยสุขอนามัยระหว่างประเทศ (Convention sanitaire internationale)
สหภาพโทรเลขสากล (Union tèlègraphique internationale) สำนักงานว่าด้วยการชั่งตวงวัดสากล (Bureau
international des poids et mesures) สหภาพไปรษณีย์ส ากล (Union postale universelle) และสหภาพเพื่อการ
ปกป้องท รัพย์สินท างอุตสาหกรรม (Union pour la protection de la propriètè industrielle) เป็นต้น ลักษณะ
องค์การร ะหว่างป ระเทศด ังกล่าวน ี้เป็นองค์การร ะหว่างป ระเทศแ บบตามภาระห น้าที่เฉพาะตามธรรมนูญข องรัฐตนที่
ไม่ได้เกี่ยวข้องห รือรับผ ิดช อบก ับการเมืองระหว่างป ระเทศ
พัฒนาการขององค์การระหว่างประเทศในคริสตศวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
เป็นต้นมานับว่ามีความสำคัญต่อการศึกษาองค์การระหว่างประเทศในระดับสากลเป็นอย่างมาก เพราะว่าองค์การ
ระหว่างประเทศป ระกอบไปด้วยร ัฐส มาชิกจากทั่วโลก มีขอบเขตความรับผ ิดช อบที่กว้างข วางและม ีบ ทบาทท ี่ซ ับซ้อน
มากยิ่งขึ้น ตั้งแต่รักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศไปจนถึงการส่งเสริมความร่วมมือในด้านต่างๆ เช่น
เศรษฐกิจ สังคมแ ละว ัฒนธรรม รวมไปถ ึงก ารล ดก ารส ะสมอ าวุธ การค ุ้มครองส ิทธมิ นุษยช น และก ารพ ิทักษท์ รัพยากร
สิ่งแวดล้อมแ ละระบบนิเวศน์ เป็นต้น
ในช ่วงห ลังส งครามโลกค รั้งท ี่ 1 องค์การร ะหว่างป ระเทศท ีส่ ำคัญได้แกส่ ันนิบาตช าติ (League of Nations)20
ซึง่ น บั ว า่ เปน็ ค วามพ ยายามค รัง้ แ รกในป ระวตั ศิ าสตรข์ องก ารจ ดั ต ัง้ อ งคก์ ารร ะหวา่ งป ระเทศในร ะดบั ส ากล สนั นบิ าตช าติ
นับได้ว่าได้รับอ ิทธิพลแนวคิดการจ ัดต ั้งองค์การระหว่างประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 19 มาใช้โดยชี้ให้เห็นถึงอุปสรรค
20 การประชุมสันติภาพที่กรุงปารีส (Paris Peace Conference) ในปี 1919 ได้มีการตกลงให้กติกาของสันนิบาตชาติเป็นส่วนหนึ่ง
ของสนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Versailles Treaty) แต่สันนิบาตชาติก่อตั้งอย่างเป็นทางการหลังจากสนธิสัญญาแวร์ซายส์ได้รับการให้สัตยาบันใน
ปี 1920
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช