Page 202 - สังคมโลก
P. 202
8-8 สังคมโลก
การปฏิบัติหน้าที่ของตน การทำงานร่วมกันเพื่อความมั่งคั่งและการอยู่ดีกินดีขององค์การระหว่างประเทศนี้จะนำสู่
สนั ตภิ าพแ ละเปน็ ส งั คมโลกท ปี่ ราศจากส งคราม กลุม่ แ นวคดิ ภ ารกจิ น ยิ มน เี้ ชือ่ ว า่ การเปลีย่ นค วามจ งรกั ภ กั ดตี อ่ ร ฐั ช าติ
ไปเป็นความจงรักภักดีต่อองค์การตามภาระหน้าที่ (Functional Organisation) ความจงรักภักดีนี้จะเกิดขึ้นได้
ก็ต่อเมื่อประชาชนมองเห็นว่าการจัดหาสิ่งจำเป็นร่วมกันรวมถึงสินค้าและบริการนั้นขึ้นอยู่กับความร่วมมือข้ามชาติ
(Transnational Cooperation) โดยยึดถือการคำนวณถึงประโยชน์สูงสุดที่จะได้รับ (Utilitarian Calculus) ซึ่ง
ประชาชนจ ะตระห นักถึงป ระโยชน์สูงสุดจ ากการเข้าร ่วมกับองค์การร ะหว่างป ระเทศด ังกล่าว
เดวิด มิทรานี่ (David Mitrany) ได้ร ับอ ิทธิพลทางค วามคิดแบบป ระชาธิปไตยส ังคมแ บบเฟเบี้ยน (Fabian
Social Democracy) โดยเฉพาะเรื่องร ัฐสวัสดิการสังคมท ี่รัฐจำเป็นต้องจ ัดหาสินค้าและบริการเพื่อส นองต อบความ
จำเป็นร ่วมก ัน เชื่อก ันว่าการร่วมม ือในส าขาใดสาขาห นึ่งจะช่วยส ่งเสริมให้เกิดค วามร ่วมม ือในสาข าอ ื่นๆ ตามมาด ้วย
ซึ่งม ทิ ราน ีพ่ ยายามอ ธิบายว ่าแ นวคิดภ ารกิจน ิยมข ัดแ ย้งก ับแ นวคิดส หพันธรัฐน ิยมอ ย่างช ัดเจนเนื่องจากส หพันธรัฐจ ะ
ยดึ แ นวทางอ ำนาจข องน ติ ริ ฐั ท ถี่ กู ก ำหนดไวใ้ นร ฐั ธรรมนญู แ ละจ ะพ จิ ารณาถ งึ ก ารแ บง่ อ ำนาจ (Power Sharing) ระหวา่ ง
องค์การเหนือรัฐและรัฐต่างๆ มากกว่าการจัดหาสิ่งจำเป็นร่วมกัน6 นอกจากนี้มิทรานี่ไม่เห็นด้วยกับการบูรณาการ
ในร ะดบั ภ ูมิภาคซ ึ่งเป็นการเบีย่ งเบนจ ากเป้าห มายท ีแ่ ทจ้ ริงข องก าร บรู ณาก ารร ะดับส ากล (International Integration)
ซึ่งเป็นแนวทางที่มิทรานี่ยึดถือว่าเป็นแนวทางที่ควรจะเป็น ยิ่งไปกว่านั้นการรวมกันเป็นสหพันธรัฐในภูมิภาค
(Regional Federations) จะทำให้รัฐเป็นมหาอำนาจได้ง่ายขึ้น เขาเห็นว่าประเด็นปัญหาเก่าๆ ของความเป็นรัฐชาติ
ควรได้ร ับก ารเปลี่ยนแปลงและแก้ไขด ้วยอ งค์การร ะหว่างประเทศในรูปแ บบใหม่
แนวคิดภ ารกจิ น ยิ มใหม ่ เป็นแนวคิดว่าด ้วยการบูรณาการ (Theory of Integration) ซึ่งเอิร์นส์ ฮาส (Ernst
Haas) ได้เป็นผู้เสนอแนวคิดนี้ขึ้นในปี 1958 จากการศึกษาการบูรณาการระดับภูมิภาค (Regional Integration)
ฮาสอธิบายว่าการบูรณาการเป็นการสร้างความสมัครใจของหน่วยการเมืองขนาดใหญ่ซึ่งแต่ละหน่วยละเว้นการใช้
กำลังในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่เข้ามาร่วมมือกัน7 ซึ่งเน้นให้ความสำคัญกับกิจกรรมโดยเฉพาะด้าน
เศรษฐกิจก ารเมืองซึ่งก ลุ่มน ี้เห็นว่าเป็นเรื่องท ี่สามารถตอบสนองต ่อการ บูรณาก ารได้ง่ายที่สุด
แนวค วามค ิดข องก ลุ่มภ ารกิจน ิยมใหม่ค ือก ารนำเอาค วามค ิดข องก ลุ่มภ ารกิจน ิยมไปร วมก ับก ลุ่มส หพันธรัฐ
นิยมโดยยึดเอาหลักการของภารกิจนิยมเป็นกระบวนการเพื่อนำไปสู่การบูรณาการ และเอาหลักการของสหพันธรัฐ
นิยมเป็นจ ุดห มายป ลายท าง กลุ่มภ ารกิจน ิยมใหมเ่น้นค วามร ่วมม ือในก ระบวนการตัดสินใจแ ละท ่าทขี องผ ู้นำว ่าส ำคัญ
ต่อค วามส ำเร็จของบ ูรณาการ8
ทั้งแนวคิดภารกิจนิยมและภารกิจนิยมใหม่มีรากฐานอยู่บนความคิดที่ว่าการร่วมมือจากเรื่องที่เป็น
ผลป ระโยชน์ระหว่างก ันและคาบเกี่ยวระหว่างก ันและกัน (Mutual and Overlapping Interests) จะเป็นจุดเริ่มต ้น
ของก ารบ ูรณาการ และเมื่อเกิดก ระบวนการข องก าร บรู ณาก ารในเรื่องใดเรื่องห นึ่งข ึ้นแ ล้วจ ะส ่งผ ลใหเ้กิดก าร บรู ณาก าร
ในเรือ่ ง อื่นๆ ตอ่ ไปอ กี ห รอื ท รี่ กู้ นั ว ่าเปน็ ป ฏกิ ริ ยิ าข องก ารไหลล น้ (Spillover Effect) ปฏกิ ริ ิยาด ังก ลา่ วน ีจ้ ะเหน็ ไดช้ ดั เจน
ในกิจกรรมที่มีการพึ่งพาซึ่งกันและกันอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง การบูรณาการที่เกิดจากการไหลล้นของกิจกรรม
ระหวา่ งก ันแ ละก ันจ ะท ำใหก้ ลุ่มผ ลป ระโยชนห์ รือก ลุ่มท ีม่ สี ่วนไดเ้สียเห็นป ระโยชนจ์ ากก ระบวนการก าร บรู ณาก ารอ ย่าง
ชดั เจนม ากข ึ้น นักค ดิ ในก ลุ่มน ีพ้ ยายามม องต ่อไปว า่ ก าร บรู ณาก ารท ีก่ ว้างข วางอ อกไปในเรือ่ งอ ื่นน ั้นบ างค รั้งจ ำเป็นต ้อง
6 ดูเพิ่มเติม David MITRANY, The Functional Theory of Politics, Martin Press, New York, 1973, และ The Functional
Approach to World Organization, International Affairs (Royal Institute of International Affairs 1944), Vol. 24, No. 3. (Jul.,
1948), p. 350-363.
7 Ernst HAAS, The Uniting of Europe: Political, Social and Economic Forces, 1950-1957, Stanford University Press,
Stanford, 1968, p. 4.
8 ธารท อง ทองสวัสดิ์ อ้างแล้ว หน้า 634
ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช