Page 199 - สังคมโลก
P. 199

องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ 8-5

เรื่องท​ ่ี 8.1.1
แนวทาง​การ​ศึกษาว​ า่ ​ด้วย​องค์การร​ ะหว่าง​ประเทศ

       รัฐ​และ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ถือว่า​เป็น​ตัว​แสดง (Actor) ที่​สำคัญ​ใน​เวที​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ
และ​ต่าง​มี​ฐานะเ​ป็นบ​ ุคคล​ตาม​กฎหมายร​ ะหว่าง​ประเทศ (Subject of International Law)1 นอกจากน​ ี้​ยัง​มี​องค์การ​
นอก​ภาค​รัฐ​ระหว่าง​ประเทศ​ซึ่ง​สมาชิก​อาจ​จะ​เป็นก​ลุ่ม​องค์การ​หรือ​เป็นก​ลุ่ม​ปัจเจกบุคคล​ก็ได้ ใน​ปัจจุบัน​องค์การ
​เหล่า​นี้​มี​บทบาท​และ​ความ​ร่วมมื​อกับ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​เพิ่ม​มาก​ขึ้น กล่าว​คือ องค์การ​ดัง​กล่าว​นี้​เป็น​องค์การ​
เอกชนท​ ี่​มี​สัญชาติ​ใดส​ ัญชาติห​ นึ่ง​หรือร​ ะหว่าง​ประเทศ​ก็ได้ และ​อาจจ​ ัด​เป็นอ​ งค์การ​ระดับโ​ลก ภูมิภาค​หรืออ​ นุภ​ ูมิภาค
นอกจาก​นี้​ยัง​มี​บรรษัท​ข้าม​ชาติ (Multinational Corporation) ซึ่ง​เป็น​บริษัท​เอกชน​ที่​มี​อิทธิพล​และ​กิจกรรม​ต่างๆ
ข้ามป​ ระเทศแ​ ละ​มีบ​ ทบาท​สำคัญอ​ ย่างม​ าก​ใน​เวทีค​ วามส​ ัมพันธ์​ระหว่างป​ ระเทศใ​น​ปัจจุบัน

       องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ (International Organisation: IO) เป็น​สถาบัน​หรือ​โครงสร้าง​ที่​ผู้​แทน​ของ​รัฐ​
สมาชิก​สร้าง​ขึ้น​เพื่อ​เป็น​กลไก​ถาวร​ใน​การ​ดำเนิน​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​กัน​โดย​มี​ข้อ​ตกลง​ระหว่าง​รัฐ​สมาชิก องค์การ​
ระหว่าง​ประเทศ​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​สนับสนุน​ความ​ร่วม​มือ​และ​การ​พัฒนา​กิจกรรม​ต่างๆ ที่​เป็น​ประโยชน์​ร่วม​กัน​ทั้ง​
ด้าน​การเมือง เศรษฐกิจ สังคม​และ​วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี สิ่ง​แวดล้อม รวม​ถึง​ความ​มั่นคง​มนุษย์​
ใน​รูป​แบบ​ใหม่ (non-traditional human security) มิ​เชล วิ​ราล​ลี่ (Michel Virally) ได้​นิยาม​องค์การ​ระหว่าง
​ประเทศ​ว่า​เป็น​สมาคม​ของ​รัฐ​ที่​ก่อ​ตั้ง​ขึ้น​มา​จาก​ข้อ​ตกลง​ระหว่าง​รัฐ​สมาชิก และ​มี​องค์การ​เป็น​กลไก​ถาวร​ที่​จะ​ปฏิบัติ​
หน้าทีเ่​พื่อใ​หบ้​ รรลวุ​ ัตถุประสงคข์​ องผ​ ลป​ ระโยชนร์​ ่วมก​ ันด​ ้วยค​ วามร​ ่วมม​ ือร​ ะหว่างบ​ รรดาร​ ัฐส​ มาชิกท​ ั้งห​ ลาย2 องค์การ​
ระหว่างป​ ระเทศม​ ี​ลักษณะ​พิเศษท​ ี่ส​ ำคัญ 5 ประการ​คือ มี​ความสัมพันธ์ร​ ะหว่าง​รัฐ (base interétatique) เป็น​ความ​
สมัคร​ใจ​ของ​รัฐ (base volontariste) มี​องค์การ​ถาวร​ใน​การ​ปฏิบัติ​หน้าที่ (existence d’organes permanents)
มีอ​ ำนาจป​ กครอง​ตนเอง (autonomie) และม​ ี​การ​ปฏิบัติ​หน้าที่ร​ ่วม​กัน (fonction de coopération)3

       การ​ศึกษา​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​มัก​เกี่ยวข้อง​กับ​แนวคิด​ว่า​ด้วย​สังคม​โลก (World Society) และ​
ประชาคม​ระหว่าง​ประเทศ (International Community) เมื่อ​กล่าว​ถึง​สังคม​โลก​ซึ่ง​มี​แนวคิด​พื้น​ฐาน​ว่า​ด้วย​มวล​
มนุษยชาตอิ​ ันเ​ป็นห​ ลักส​ ากลแ​ ล้วน​ ั้นย​ ังค​ งไ​มเ่​พียงพ​ อต​ ่อก​ ารนำไ​ปว​ ิเคราะหก์​ ารเมืองร​ ะหว่างเ​ทศไ​ด้ ถึงแ​ ม้ว่าใ​นป​ ัจจุบัน​
จะม​ เี​หตุการณท์​ ีส่​ ร้างจ​ ิตสำนึกถ​ ึงผ​ ลป​ ระโยชนร์​ ่วมก​ ันใ​นร​ ะดับโ​ลก เช่น การป​ ระชุมร​ ะหว่างป​ ระเทศว​ ่าด​ ้วยแ​ ก้ไขป​ ัญหา​
สิ่ง​แวดล้อม​หรือ​การ​พัฒนา​ทรัพยากร​มนุษย์​แบบ​ยั่งยืน​ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ ก็ตาม การ​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​มนุษยชาติ​

         1ใน​การ​พิจารณา​สภาพ​บุคคล​ตาม​กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​มี​แนวทาง​พิจารณา​คือ​กรณี​ที่​ตราสาร​ก่อ​ตั้ง
​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ มิได้​ระบุ​ถึง​สภาพ​บุคคล​ตาม​กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ไว้​อย่าง​ชัด​แจ้ง​ก็​อาจ​พิจารณา​
สภาพ​บุคคล​ตาม​กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​โดย​อาศัย​แนวทาง​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ 1. องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​นั้น​เกิด​ขึ้น​โดย​
ความต​ กลงร​ ะหว่างร​ ัฐเ​พื่อก​ ่อต​ ั้งเ​ป็นส​ มาคมข​ องร​ ัฐอ​ ย่างถ​ าวร 2. มโี​ครงสร้างป​ ระกอบด​ ้วยอ​ งค์กรย​ ่อยต​ ่างๆ ทีจ่​ ะด​ ำเนินภ​ ารกิจข​ องอ​ งค์การร​ ะหว่าง​
ประเทศ 3. มี​วัตถุประสงค์ข​ องอ​ งค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศแ​ ยกต​ ่างห​ ากจ​ ากบ​ รรดาร​ ัฐส​ มาชิก และ 4. มีส​ ิทธิห​ น้าที่แ​ ละส​ ามารถใ​ช้ส​ ิทธิแ​ ละป​ ฏิบัติห​ น้าที​่
ได้​ใน​ทางร​ ะหว่างป​ ระเทศ โปรดด​ ู ลาวัณย์ ถนัด​ศิลปก​ ุล หน่วย 2 บุคคล​ใน​กฎหมาย​ระหว่างป​ ระเทศ ใน เอกสารก​ าร​สอน​ชุดว​ ิชาก​ ฎหมาย​ระหว่าง​
ประเทศ มหาวิทยาลัยส​ ุโขทัย​ธร​รมาธิ​ราช นนทบุรี 2546 และส​ มพงศ์ ชู​มาก องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ: สันนิบาต​ชาติ สหประชาชาติ พิมพ์​ครั้ง​ที่ 2
โรงพ​ ิมพ์​จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2533

         2 Michel Virally, Dèfinition et classification des organisations internationales: approche juridique, dans ABI-SAAB
George, Le concept d’organisation internationale, UNESCO, paris, 1980 citè par Philippe BRAILLARD et Mohammad-Reza
DJALILI, Les Relations internationales, Que sais-je ?, PUF, Paris, p. 38.

         3 Ibid.

ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204