Page 200 - สังคมโลก
P. 200
8-6 สังคมโลก
ซึ่งเป็นห น่วยท ี่เล็กท ี่สุดในส ังคมโลกแ ต่เพียงล ำพังโดยไม่ค ำนึงถ ึงห น่วยว ิเคราะห์ห น่วยอ ื่นในเชิงโครงสร้างท างส ังคม
ระหว่างประเทศจำนวนมาก ทั้งหน่วยงานระดับรัฐบาล ระดับเอกชน และระดับประชาสังคม (Civil Society) ซึ่งมี
บทบาทอ ย่างม ากในเวทคี วามส ัมพันธร์ ะหว่างป ระเทศในป ัจจุบันน ั้นก จ็ ะไมส่ ามารถท ำความเข้าใจถ ึงส ังคมโลกไดอ้ ย่าง
แท้จริง
การศึกษาก ารเมืองร ะหว่างประเทศที่แตกต ่างไปจากก ารศึกษาป ระวัติศาสตร์ กฏหมาย และก ารเมืองภายใน
รัฐ มีระเบียบวิธีการศึกษาที่เฉพาะตัวเน้นการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของรัฐ ผลประโยชน์แห่งชาติและ
การเกิดส งคราม ซึ่งรวมไปถ ึงว ิธีก ารและการกร ะท ำระหว่างป ระเทศซึ่งมีล ักษณะท ี่สำคัญอยู่ 2 ประการที่เป็นคู่ขนาน
กันคือ ความร่วมมือหรือความขัดแย้ง ดังนั้น แนวคิดว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศมักเกิดจากความร่วมมือของ
ประเทศต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งหรือปัองกันไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่าง
ประเทศ รวมถึงช่วยส่งเสริมความร่วมมือและความเข้าใจกันอันดีระหว่างประเทศให้แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น ซึ่งนับได้
ว่าองค์การระหว่างประเทศเป็นเหมือนเวทีที่ตัวแทนของประเทศต่างๆ มารวมตัวกันเพื่อประชุมพบปะหารือโดยมี
วัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป อาจจะกล่าวได้ว่าองค์การระหว่างประเทศมิได้มีวัตถุประสงค์เพียงแก้ไขปัญหาความ
ขัดแ ย้งร ะหว่างป ระเทศเท่านั้น แตย่ ังส ามารถม บี ทบาทแ ละห น้าทีเ่ฉพาะในก ารส ่งเสริมแ ละพ ัฒนาท างด ้านใดน ั้นก ย็ ่อม
ขึ้นอยู่กับล ักษณะหน้าที่แ ละวัตถุประสงค์ของก ารก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศนั้นขึ้นม า แต่ในท้ายท ี่สุดมีความเชื่อ
ว่าความร่วมมือในองค์การระหว่างประเทศจะนำมาซึ่งความปรองดองและสันติภาพเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม
สังคมโลกในปัจจุบันมีข้อถกเถียงอย่างกว้างขวางถึงสภาพบุคคลขององค์การระหว่างประเทศว่าไม่มีกฎหมายใด
ทีก่ ำหนดส ภาพบ ุคคลข องอ งค์การร ะหว่างป ระเทศไวอ้ ย่างช ัดเจน แต่ก ม็ แี นวโน้มท ีย่ อมรับว ่าอ งค์การร ะหว่างป ระเทศ
มีส ภาพบ ุคคลอ ยู่เสมอภายห ลังก ารก่อต ั้งแ ล้ว4
ดังนั้น แนวทางการศึกษาองค์การระหว่างประเทศมักนำเอาแนวคิดของวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
มาอธิบายสถานภาพความร่วมมือและความขัดแย้งระหว่างประเทศ และทำความเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของ
องค์การระหว่างประเทศ แนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม
แนวคิดบ ูรณาการ (Integration Approach) และกลุ่มแนวคิดโลกน ิยม (Global Approach)
แนวคิดแ บบบ รู ณาการ
แนวคิดแบบบูรณาการห มายถึงบ รรดารัฐทั้งหลายแสวงหาค วามร ่วมมือระหว่างป ระเทศเพื่อสันติภาพ ความ
มั่นคงและความมั่งคั่งโดยการพัฒนาด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมร่วมกัน การบูรณาการจึงเป็นทั้ง
กระบวนการและเป้าหมายที่จะสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันให้กับรัฐ ดังนั้น แนวคิดนี้จึงเป็นรากฐานของการจัดตั้ง
องค์การร ะหว่างป ระเทศท ี่ม ีจ ุดม ุ่งห มายท ี่จ ะให้บ รรดาร ัฐท ั้งห ลายม าร ่วมม ือก ันโดยก ารท ำการต กลงอ ย่างเป็นท างการ
ระหว่างรัฐสมาชิกภายใต้โครงสร้าง ข้อบังคับ ตัวบทกฎหมายและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบขององค์การระหว่าง
ประเทศ
คาร์ล ดอยช์ (Karl Deutsch) มองว ่าก ารบูร ณาก ารเป็นค วามส ัมพันธ์ข องห น่วยต่างๆ (unit) ที่พึ่งพาอ าศัย
กันแ ละกัน และร่วมมือก ันท ี่น ำไปพ าสู่สิ่งใหม่ในระบบซ ึ่งหน่วยแต่ละห น่วยในร ะบบไม่สามารถส ร้างขึ้นมาเองได้ การ
บรู ณาก ารม จี ดุ ป ระสงคค์ อื เพือ่ ร กั ษาส นั ตภิ าพแ ละค วามม ัน่ คง เสรมิ ส รา้ งข ดี ค วามส ามารถในก ารท จี่ ะบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์
และความสำเร็จในเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้เพิ่มมากขึ้น ดอยช์อธิบายเพิ่มเติมว่าการสร้างประชาคมที่มีความมั่นคงนั้น
มีกระบวนการท ี่ทำให้สมาชิกมีพฤติกรรมคล้ายกัน สถาบันต ่างๆ ในประชาคมจ ะเป็นกลไกที่ทำห น้าที่รวบรวมสมาชิก
4 ชุมพร ปัจจุสานนท์ หน่วยที่ 9 กฎหมายว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ ใน เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายระหว่างประเทศและ
องค์การระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธ รรมาธิร าช นนทบุรี 2530 หน้า 666-667
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช