Page 205 - สังคมโลก
P. 205

องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ 8-11
คิด​ว่า​ถูก​ต้อง​และ​เหมาะ​สม​กับ​สถานการณ์​ใน​ช่วง​เวลา​ใด​เวลา​หนึ่ง​โดย​อาศัย​สาย​สัมพันธ์​เฉพาะ​บุคคล​กับ​ประชาคม​
ใด​ประชาคม​หนึ่ง​ใน​ช่วง​ระยะ​เวลา​ของ​ปัจเจก​ชน​นั้น​มี​อยู่15 หรือ​กล่าว​อีก​นัย​หนึ่ง​คือ ผู้คน​ที่​สร้าง​และ​ใช้​ชีวิต​อยู่​และ​
เข้าใจ​ปฏิสัมพันธ์ สิ่ง​เหล่า​นี้​ถูก​สร้าง​หรือ​ประกอบ​รวม​กัน​ขึ้น​โดย​มนุษย์​ใน​กา​ละ (Time) และ​เทศะ (Space) เฉ​พาะ​
หนึ่งๆ16 แนวคิด​นี้​มัก​จะ​ได้​รับ​การ​อ้างอิง​จาก​ประโยค​ที่​ว่า “อนาธิปไตย​เป็น​สิ่ง​ที่​รัฐ​สร้าง​ขึ้น” จาก​งาน Anarchy is
What State make of it ของ อเ​ล็ก​ซานเ​ดอ​ ร์ เวน​ด์ (Alexander Wendt) ที่​อธิบาย​ว่าอ​ นาธิปไตย​ไม่​ได้เ​ป็นส​ ิ่ง​ที่​ม​ี
อยู่​แล้ว​แต่​เดิม แต่​เกิด​จาก​การ​ปฏิบัติ​ระหว่าง​รัฐ​และ​กฎ​ระเบียบ​ที่​รัฐ​ต่างๆ สร้าง​ขึ้น​มาระ​หว่าง​กัน​ทำให้​รัฐ​ไม่มี​ความ​
เป็น​อิสระ กล่าว​คือ​อนาธิปไตย​เป็น​ผล​จาก​กระบวนการ​การ​สร้าง​กฎ​ระเบียบ (Rules) หรือ​บรรทัดฐาน (Norms) ที่​
กำหนดการป​ ฏสิ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งก​ นั ไมม่ ส​ี งั คมร​ ะหวา่ งป​ ระเทศใ​ดอ​ ยนู​่ อกเ​หนอื ก​ ารส​ รา้ งข​ ึน้ ม​ าโ​ดยม​ นษุ ย์ แนวค​ วามค​ ดิ น​ ​ี้
มี​อิทธิพล​ต่อ​การศ​ ึกษา​ภูมิภาคน​ ิยม​เปรียบ​เทียบ (Comparative regionalism) ที่ม​ ุ่ง​ศึกษาป​ ระชาคม (Community)
การ​พัฒนา​ความ​รู้สึก​ร่วม​กัน (We-feelings) ความ​สม่ำเสมอ​ของ​การ​ปฏิสัมพันธ์​และ​การ​สร้าง​เอกลักษณ์​ร่วม​กัน
(Shared Identity) ซึ่ง​ถูก​นำ​มา​ใช้​อธิ​บาย​ปราก​ฏ​การณ์​ของ​สังคม​โลก​และ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ใน​ระดับ​ภูมิภาค
เช่น การศ​ ึกษาอ​ งค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​เปรียบ​เทียบ​ระหว่างย​ ุโรป​และ​อาเซียน เป็นต้น

  กิจกรรม 8.1.1
         แนวคดิ ท​ ว่ั ไปว​ า่ ด​ ว้ ยอ​ งคก์ ารร​ ะหวา่ งป​ ระเทศม​ กั น​ ำเ​อาแ​ นวคดิ ข​ องว​ ชิ าใ​ดม​ าอ​ า้ งองิ แ​ ละม​ แ​ี นวคดิ อ​ ะไรบ​ า้ ง

  แนว​ตอบ​กิจกรรม 8.1.1
         แนวทาง​การ​ศึกษา​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​มัก​นำ​เอา​แนวคิด​ของ​วิชา​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ​มา​

  อธิบาย​สถานภาพ​ความ​ร่วม​มือ​และ​ความ​ขัด​แย้ง​ระหว่าง​ประเทศ และ​ทำความ​เข้าใจ​ถึง​บทบาท​และ​หน้าที่​ของ​
  องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ แนวคิด​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ​ท่ี​เก่ียวข้อง​น้ัน​สามารถ​แบ่ง​ได้​คือ กลุ่ม​แนวคิด​
  บูรณาการ (Integration Approach) และ​กลมุ่ ​แนวคิด​โลกน​ ยิ ม (Global Approach)

         15 Diane ÈTHIER, Introduciton aux relations internationales, Presses de l’Universitè de Montrèal, Montrèal, 2003,
p. 59.

         16 ขจิต จิตต​เส​วี อ้าง​แล้ว หน้า 40

                              ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210