Page 209 - สังคมโลก
P. 209
องค์การร ะหว่างประเทศ 8-15
สงครามกับสหภาพโซเวียตและรุกรานโปแลนด์ซึ่งเป็นประเทศอยู่ในการประกันเอกราชของอังกฤษและฝรั่งเศส จึง
เป็นสาเหตุให้ทั้งสองประเทศประกาศสงครามกับเยอรมนีอันเป็นจุดเริ่มต้นของความขัดแย้งระหว่างประเทศและ
นำไปส ู่สงครามโลกค รั้งท ี่ 2 และส ันนิบาตชาติก็ล ่มส ลายไปในท ี่สุด
ในระหว่างส งครามโลกค รั้งที่ 2 พันธมิตรเห็นค วรจ ัดตั้งส หประชาชาติ (United Nations) ซึ่งเป็นองค์การ
ระหว่างประเทศระดับสากลขึ้นมาใหม่เพื่อเป็นหลักประกันในการรักษาสันติภาพของโลกอีกครั้ง สหประชาชาติถือ
ได้ว ่าเป็นก ลไกของก ารแ สวงหาสันติภาพ สร้างค วามย ุติธรรม และสร้างความเป็นร ะเบียบเรียบร้อย รวมถึงยกระดับ
ความก ินด ีอ ยู่ดีข องป ระชากรโลกในด ้านเศรษฐกิจแ ละส ังคม เพราะเชื่อว ่าห ากป ระชากรโลกม ีค วามอ ยู่ดีก ินด ีแล้วก ็จ ะ
ช่วยให้ค วามข ัดแย้งเกิดขึ้นได้ยากข ึ้นด ้วย
พัฒนาการของสหประชาชาติมีจุดเริ่มต้นจากประธานาธิบดีร ูสเวลท์ (Franklin Delano Roosevelt) ของ
สหรัฐอเมริกา และนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิล (Winston Churchill) ของอังกฤษร่วมกันลงนามในกฎบัตร
แอตแลนติก (Atlantic Charter) ในปี 1941 บนเรือออกุสต า (Augusta) ซึ่งกำหนดหลักก ารข องการอยู่ร่วมกัน และ
กฎบัตรนี้ก็ได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นและได้ผนวกเข้าไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ (United Nations
Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามในปี 1942 โดยรัฐต่างๆ อีก 26 รัฐที่รวมทำสงครามกับเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
ซึ่งต ่อม าม รี ัฐอ ีก 21 รัฐเข้าร ่วมส มทบในภ ายห ลัง24 ต่อม าไดม้ กี ารล งน ามในป ฏิญญาม อสโคว์ (Moscow Declaration)
โดยรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และสหภาพโซเวียตในปี 1943 ซึ่งในปฏิญญานี้กำหนดไว้ว่า
“ประเทศที่ร่วมลงนามผูกพันที่จะตั้งองค์การระหว่างประเทศอย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อรับผิดชอบในการคงไว้
ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ”25 นอกจากนี้ปฏิญญาฉบับนี้ได้กำหนดแนวทางกว้างๆ ในการก่อตั้ง
องค์การสหประชาชาติไว้อีกด้วย หลังจากนั้นสหรัฐอเมริกา อังกฤษ จีน และสหภาพโซเวียตร่วมประชุมร่างกฎบัตร
องค์การสหประชาชาติขึ้นที่เมืองดัมบาตัน โอคส์ (Dumbarton Oaks) ในปี 1944 เมื่อที่ประชุมร่างกฎบัตรเสร็จ
ก็ได้น ำเสนอต่อที่ประชุมที่เมืองยัลตา (Yalta Conference) ในรัฐอ ูเครนของสหภาพโซเวียตในป ี 1945 ซึ่งท ั้งส องที่
ประชุมฝ รั่งเศสไม่ได้เข้าร่วมประชุมด้วยเนื่องจากร ัฐบาลช ั่วคราวของฝรั่งเศสภายใต้การนำข องนายพ ลฟิลิปป์ เปแ ตง
(marèchal Philippe Pètain) นั้นย ังไมไ่ดร้ ับก ารร ับรอง จนก ระทั่งเดือนต ุลาคม 1944 รัฐบาลฝ รั่งเศสไดร้ ับก ารร ับรอง
จากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ สหภาพโซเวียตและประเทศต่างๆ ในที่ประชุมยัลตาได้มีการพิจารณาและแก้ไขเพิ่มเติม
ร่างกฎบัตรสหประชาชาติจากที่ประชุมดัมบาตัน โอคส์ในเรื่องการออกเสียงในคณะมนตรีความมั่นคงซึ่งให้อำนาจ
คณะมนตรีความมั่นคงในสิทธิยับยั้ง (Veto) ของมหาอำนาจทั้งสามคือ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และสหภาพโซเวียต
หลังจ ากนั้นในวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1945 มีการประชุมพิจารณาจัดตั้งอ งค์การระหว่างประเทศในร ะดับส ากลขึ้นที่
เมืองซ านฟ ร านซ สิ โก (San Francisco Conference) โดยม รี ัฐต ่างๆ ทั่วโลกเข้าร ่วมจ ำนวน 50 รัฐ และไดร้ ่วมล งน ามใน
กฎบัตรส หประชาชาติ (Charter of the United Nations) ซึ่งก ฎบัตรด ังกล่าวน ี้ได้รับการให้สัตยาบัน (Ratification)
โดย 5 มหาอำนาจผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 คือ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ สหภาพโซเวียต และจีน และ
มีผ ลบังคับใช้ในอ ีก 6 เดือนต่อมาในวันท ี่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 ซึ่งถือว่าเป็นว ันสหป ระชาต ิ มีส ำนักงานใหญ่ต ั้งอยู่
ที่ก รุงน ิวยอร์ก โดยม ีหลักก ารข องก ารอ ยู่ร วมก ันแ ละค วามร ่วมม ือระหว่างป ระเทศเพื่อส ร้างส ันติภาพแ ละค วามเจริญ
ก้าวหน้าในด้านต่างๆ ที่เป็นประโยชน์สุขก ับส ังคมโลกเรื่อยมาจ นถึงป ัจจุบัน
24 สมพงศ์ ชูมาก อ้างแ ล้ว หน้า 67
25 เพิ่งอ ้าง หน้า 68
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช