Page 208 - สังคมโลก
P. 208

8-14 สังคม​โลก

ของ​การ​จัด​ตั้ง​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่มา​จาก​ความ​ไม่​เสมอ​ภาค​ทางการ​เมือง​ระหว่าง​ประเทศ​และ​การ​มอบ​สิทธิ​และ​
อำนาจ​พิเศษ​บาง​ประการ​ให้​แก่​มหาอำนาจ​ซึ่ง​เคย​เกิด​ขึ้น​มา​แล้ว​ใน​อดีต​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​การ​ประชุม​สันติภาพ​ที่​
กรุง​เฮก​ใน​ปี 1907 แต่​ภาย​หลัง​จาก​สงครามโลก​ครั้ง​ที่ 1 สิ้น​สุด​ลง​ที่​ยัง​ผล​ให้​เกิด​ความ​สูญ​เสีย​อย่าง​ใหญ่​หลวง​นั้น
บรรดา​รัฐ​ทั้ง​หลาย​ได้​เล็ง​เห็น​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​การ​แก้ไข​ปัญหา​ความ​ขัด​แย้ง​และ​วาง​กฎ​เกณฑ์​ใน​การ​รักษา​สันติภาพ
ดัง​นั้น​  สันนิบาต​ชาติ​จึง​เป็น​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​มี​จุด​มุ่ง​หมาย​ใน​การ​รวบรวม​สังคม​มนุษย์​ที่​มี​อยู่​ให้​เข้า​มา​อยู่​ใน​
องค์การน​ ี้โ​ดยต​ ั้งอ​ ยู่บ​ นพ​ ื้นฐ​ านข​ องก​ ารใ​ห้ค​ ำมั่นส​ ัญญาข​ องบ​ รรดาร​ ัฐต​ ่างๆ ว่าจ​ ะเ​คารพก​ ฎหมายแ​ ละแ​ ก้ไขก​ รณีพ​ ิพาท​
ด้วย​อนุญาโตตุลาการ รัฐ​ทั้ง​หลาย​พร้อม​ให้​ความ​ร่วม​มือ​ต่อ​ต้าน​รัฐ​ใด​ก็ตาม​ที่​ไม่​ปฏิบัติ​ตาม​หรือ​ละเมิด​กฎหมาย​อัน​
จะ​นำ​ไป​สู่​ความ​ขัด​แย้ง​ระหว่าง​ประเทศ​ขึ้น ถึง​แม้ว่า​รัฐ​นั้น​จะ​เป็น​สมาชิก​ของ​สันนิบาต​ชาติ​หรือ​ไม่​ก็ตาม การก​ระ​ทำ​
ดัง​กล่าว​นี้​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​บรรดา​รัฐ​สมาชิก​มี​เจตนา​รมณ์ถึง​หลัก​ประกัน​การ​รักษา​ความ​มั่นคง​ของ​แต่ละ​รัฐ​หรือ​ที่​
เรียกก​ ันว​ ่า “หลัก​การ​ว่าด​ ้วยค​ วาม​มั่นคงร​ ่วมก​ ัน” นั่นเอง

       มี​ข้อ​สังเกต​บาง​ประการ​ที่​น่า​สนใจ​คือ​สันนิบาต​ชาติ​ประกอบ​ไป​ด้วย​ประเทศ​มหาอำนาจ​และ​สมาชิก​จาก
​ทั่ว​โลก ถึง​แม้ว่า​รัฐ​สมาชิก​ส่วน​ใหญ่​เป็น​ประเทศ​ใน​ทวีป​ยุโรป​และ​รัฐ​ที่​เป็น​ฝ่าย​พ่าย​แพ้​สงคราม​จะ​ไม่​ได้​รับ​อนุญาต​
ให้​เป็น​สมาชิก​ของ​สันนิบาต​ชาติ​ก็ตาม แต่​องค์การ​แห่ง​นี้​ก็​มี​วัตถุประสงค์​สากล​ระดับ​โลก​ใน​การ​รักษา​สันติภาพ​และ​
ความม​ ั่นคง​ระหว่างป​ ระเทศ​ซึ่งแ​ สดงใ​ห้​เห็น​ถึงค​ วามเ​ป็น​เอกภาพ​ของ​สังคม​โลก​ที่​เกิด​ขึ้น อัน​ที่จ​ ริงส​ ันนิบาต​ชาติ​มิได้ม​ ​ี
จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​ให้​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​พื้น​ฐาน​ที่​สำคัญ​ของ​สังคม​นานาชาติ ตรง​กัน​ข้าม​จุด​มุ่ง​หมาย​หลัก​ของ​สันนิบาต​
ชาติ​คือ​การ​รักษา​สถานะ​เดิม (Status quo) อัน​เป็น​ผล​จาก​สนธิ​สัญญา​สันติภาพ ซึ่ง​สนธิ​สัญญา​สันติภาพ​เหล่า​นี้​
ในค​ วามค​ ดิ ข​ องผ​ จู​้ ดั ท​ ำส​ นธส​ิ ญั ญาเ​ห็นว​ า่ ม​ ล​ี กั ษณะท​ จี​่ ะส​ รา้ งสรรคร​์ ะเบยี บร​ ะหวา่ งป​ ระเทศท​ มี​่ ัน่ คงแ​ ละส​ มดลุ 21 ดงั น​ ัน้
จ​ ึงม​ ีก​ ารบ​ รรจุก​ ติกาข​ องส​ ันนิบาตช​ าติไ​ว้ใ​นอ​ ารัมภบทข​ องส​ นธิส​ ัญญาส​ ันติภาพท​ ุกฉ​ บับน​ ับต​ ั้งแตส่​ นธสิ​ ัญญาแ​ วร์ซ​ ายส์
(Versailles Treaty) และส​ นธิ​สัญญาส​ ันติ​ภา​พอื่นๆ เป็นต้น​มา22	

       ในช​ ่วง​ทศวรรษ​ที่ 1930 มีห​ ลาย​เหตุการณ์​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​นำไ​ปส​ ู่​ความ​ล้ม​เหลว​ของ​สันนิบาต​ชาติ เริ่ม​ต้น
​จาก​ความ​ล้ม​เหลว​ใน​การ​ยุติ​ปัญหา​การ​รุกราน​แคว้น​แมนจูเรีย​ของ​ญี่ปุ่น​ใน​ปี 1931 การ​ที่​ญี่ปุ่น​ยึด​ครอง​แคว้น
แ​ มนจูเรียเ​พื่อจ​ ะ​สร้าง​วงไ​พบูลย์​ร่วมแ​ ห่งม​ หาเ​อเชียบ​ ูรพา (Greater East Asia Co-prosperity Sphere) โดยม​ ีต​ น​
เป็น​ผู้นำ​นั้น​ได้​กลาย​เป็นการ​คุกคาม​ต่อ​สหภาพ​โซเวียต​ด้วย​เช่น​กัน ประกอบ​กับ​ช่วง​เวลา​นั้น​เยอรมนี​ได้​กลาย​เป็น​
จักรวรรดินิยม​นาซี (Nazi) ที่เ​น้นอ​ ำนาจ​ทางการท​ หารภ​ ายใ​ต้ก​ ารนำ​ขอ​งอด​อล์ฟ ฮิตเ​ลอร​ ์ (Adolf Hitler) ได้​ลา​ออก​
จาก​สมาชิก​ของ​สันนิบาต​ชาติ​และ​ได้ค​ ุกคาม​สหภาพ​โซเวียต​จาก​ทาง​ทวีป​ยุโรป เหตุการณ์​เหล่า​นี้​จึง​เป็น​อุปสรรค​ทำให้​
การ​ประชุม​ระหว่างป​ ระเทศเ​พื่อ​ลดอ​ าวุธใ​น​ปี 1932-1934 ไม่​ประสบผ​ ล​สำเร็จ ความ​ล้ม​เหลวข​ องส​ ันนิบาตช​ าติใ​น​กรณ​ี
ความ​ขัด​แย้ง​ใน​แมนจูเรีย​และ​การ​จัดการ​ประชุม​ระหว่าง​ประเทศ​เพื่อ​ลด​อาวุธ​ผลัก​ดัน​ให้​เบนิ​โต มุสโส​ลิ​นี (Benito
Mussolini) ผู้นำ​ของ​อิตาลี​ใน​ขณะ​นั้น​เห็น​ว่า​ญี่ปุ่น​ได้​เข้า​รุกราน​แคว้น​แมนจูเรีย​สำเร็จ​จึง​เอา​แบบ​อย่าง​เข้า​รุก​รา​น
อะบ​ ิซ​ ิเ​นีย (Abyssinia)23 บ้างใ​นป​ ี 1935 ต่อม​ าเ​ยอรมนไี​ด้ย​ ึดแ​ คว้นไ​รน์ค​ ืนจ​ ากฝ​ รั่งเศสโ​ดยไ​ม่ส​ นใจว​ ่าเ​ป็นการล​ ะเมิด​
สนธิส​ ัญญา​แวร์ซ​ ายส์ อีกท​ ั้ง​เยอรมนีแ​ ละ​อิตาลี​ได้เ​ข้าไป​แทรกแซงแ​ ละ​สนับสนุน​นาย​พลฟ​ ร​ ังโ​ก (Francisco Franco)
ทำส​ งครามกลางเมืองใ​นส​ เปนจ​ นไ​ดร้​ ับช​ ัยชนะ นอกจากน​ ีเ้​ยอรมนยี​ ังผ​ นวกอ​ อสเตรียแ​ ละเ​ข้าย​ ึดค​ รองเ​ชคโ​กสโ​ลว​ าเ​กีย​
ใน​ปี 1939 เหตุการณ์​ดัง​กล่าว​ทำให้​เยอรมนี​ย่ามใจ​ใน​พลัง​อำนาจ​ทางการ​ทหาร​ของ​ตนเอง ใน​ที่สุด​เยอรมนี​ประกาศ​

         21 สมพ​ งค์ ชม​ู าก องคก์ ารร​ ะหวา่ งป​ ระเทศ: สนั นบิ าตช​ าติ สหประชาชาติ พมิ พค​์ รัง้ ท​ ี่ 2 โรงพ​ มิ พจ​์ ฬุ าลงกรณม​์ หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพมหานคร
2533 หน้า 22

         22 อารมั ภบทข​ องก​ ตกิ าส​ นั นบิ าตช​ าตก​ิ ลา่ วไ​วว​้ า่ “เปน็ เ​รือ่ งส​ ำคญั ย​ ิง่ ... ทจี​่ ะต​ อ้ งป​ ฏบิ ตั ต​ิ ามอ​ ยา่ งจ​ รงิ จงั ต​ อ่ ข​ อ้ ก​ ำหนดแ​ หง่ ก​ ฎหมายร​ ะหวา่ ง​
ประเทศ​ที่​ยอมรับ​เป็น​กฎ​เกณฑ์​ระหว่าง​รัฐ​ต่างๆ แล้ว... ที่​จะ​สร้าง​ความ​ยุติธรรม และ​ที่​จะ​ต้อง​เคารพ​อย่าง​จริงจัง​ต่อ​ข้อ​ผูกพัน​ของ​สนธิ​สัญญา​ใน​
ความส​ ัมพันธ์​ซึ่งก​ ัน​และก​ ันร​ ะหว่าง​ชาติ​ต่างๆ” โปรด​ดู สมพงศ์ ชู​มาก เพิ่ง​อ้าง หน้า 27

         23 ปัจจุบันค​ ือ​ประเทศ​เอธิโอเปีย (Ethiopia)

                             ลิขสิทธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213