Page 212 - สังคมโลก
P. 212

8-18 สังคมโ​ลก

เรอ่ื งท​ ่ี 8.2.1
ลักษณะโ​ดยท​ ั่วไป​ของ​องคก์ าร​ระหวา่ ง​ประเทศ

       องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศเ​ป็นเ​สมือนเ​วทีร​ ะหว่างป​ ระเทศท​ ี่บ​ รรดาร​ ัฐส​ มาชิกส​ ามารถแ​ สดงบ​ ทบาทห​ รือส​ ะท้อน​
ความ​ต้องการ​และ​ความ​คิด​เห็น​ของ​ตน​ได้ ซึ่ง​รัฐ​สมาชิก​สามารถ​มี​อิทธิพล​ต่อ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ และ​บรรดา​รัฐ​
สมาชิกส​ ามารถ​มีอ​ ิทธิพลเ​หนือ​องค์การร​ ะหว่าง​ประเทศไ​ด้​เช่นก​ ัน กล่าว​คือท​ ั้ง​รัฐ​สมาชิก​และ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​
มี​ต่าง​มีอ​ ิทธิพลต​ ่อก​ ัน​และก​ ันไ​ด้

       ลักษณะแ​ ละ​โครงสร้าง​หน้าที่​ของอ​ งค์การร​ ะหว่าง​ประเทศแ​ ตก​ต่างก​ ันอ​ อกไ​ปข​ ึ้น​อยู่​กับว​ ัตถุประสงค์​ของ​การ
​จัด​ตั้งอ​ งค์การ​และ​พฤติกรรมข​ องอ​ งค์​กา​รนั้นๆ ที่​แสดงออก​มา โดย​ทั่วไป​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศท​ ี่​เน้น​ความ​ร่วม​มือ​
ด้าน​เศรษฐกิจ สังคม​และ​วัฒนธรรม​จะ​มี​ลักษณะ​เปิด​กว้าง​แก่​สมาชิก​ทั่ว​โลก​และ​เน้น​ภาระ​หน้าที่​หลัก​ของ​องค์การ​
ระหว่าง​ประเทศ​นั้น โดย​เชื่อ​ว่า​ความ​ร่วม​มือ​และ​การ​ส่ง​เสริม​การ​กิน​ดี​อยู่ดี​ของ​ประชาชน​จาก​บรรดา​รัฐ​สมาชิก​ต่างๆ
ของอ​ งค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​นั้น​จะ​หลีก​เลี่ยงส​ งครามแ​ ละ​นำไ​ป​สู่​สันติภาพ​และ​ความม​ ั่นคง​ของ​โลก​ได้​ในท​ ี่สุด

ประเภท​ของ​องคก์ ารร​ ะหวา่ งป​ ระเทศ

       ประเภท​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​คือ​ลักษณะ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​รัฐ​ที่​อยู่​ภาย​ใต้​กรอบ​ความ​ร่วม​มือ​ใน
​รูป​แบบ​ต่างๆ ซึ่ง​แบ่ง​ออก​อย่า​งก​ว้างๆ ได้ 3 ประเภท คือ แบ่ง​ตาม​องค์​ประกอบ​ทาง​ภูมิศาสตร์ แบ่ง​ตาม​ลักษณะ
อ​ ำนาจ และ​แบ่ง​ตามจ​ ุด​มุ่งห​ มาย

       1.	 องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศ​ที่​แบ่งต​ าม​องค์​ประกอบ​ทางภ​ ูมิศาสตร์ แบ่งอ​ อกเ​ป็น
       องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ระดับ​สากล (Universal Organisation) เป็น​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​เปิด​ให้​รัฐ​
ทุก​รัฐ​จาก​ทุก​ภูมิภาค​ของ​โลก​เข้า​เป็น​สมาชิก เช่น สหประชาชาติ​และ​ทบวง​การ​ชำนัญ​พิเศษ​ต่างๆ (Specialised
Agencies)
       องคก​์ าร​ ระหวา่ งป​ ระเทศร​ ะดบั ภ​ มู ภิ าค (Regional Organisation) เป็น​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่จ​ ำกัด​เฉพาะ​
รัฐ​สมาชิก​ที่​อยู่​ใน​ภูมิภาค​เดียวกัน​เท่านั้น​โดย​ยึด​แนวคิด​ภูมิภาค​นิยม (Regionalism) ใน​กฎบัตร​สหประชาชาติ
หมวด​ที่ 8 เรื่อง​ความ​ตกลง​ระดับ​ภูมิภาค​และ​องค์การ​ระ​ดับ​ภ​มิ​ภาค ระบุ​โดย​สรุป​ว่า “ไม่มี​ข้อความ​ใด​ใน​กฎบัตร​
ฉบับ​ปัจจุบัน​ที่​กีดกัน​การ​มี​ความ​ตกลง​ส่วน​ภูมิภาค ใน​การ​ธำรง​ไว้​ซึ่ง​สันติภาพ​และ​ความ​มั่นคง​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​เห็น​
ว่า​เหมาะ​สม​สำหรับ​ภูมิภาค​และ​สอดคล้อง​กับ​จุด​มุ่ง​หมาย​และ​หลัก​การ​ของ​สหประชาชาติ” โดย​มี​เงื่อนไข​ว่า “ความ​
ตกลงห​ รืออ​ งค์การร​ ะหว่าง​ประเทศใ​นส​ ่วนภ​ ูมิภาค​จะ​ต้องม​ ี​กิจกรรม​อัน​สอดคล้อง​กับค​ วามม​ ุ่งห​ ลายแ​ ละ​หลักก​ ารข​ อง​
สหประชาชาติ”28 องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ระดับภ​ ูมิภาค เช่น สหภาพย​ ุโรป อาเซียน และส​ หภาพ​แอฟริกา (African
Union: AU) เป็นต้น
       2. องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​แบ่ง​ตาม​ลักษณะ​อำนาจ​สามารถ​แบ่ง​ได้​อย่า​งก​ว้างๆ คือ แบบ​นานาชาติ​นิยม
(Internationalism)29 และแ​ บบ​เหนือ​ชาตินิยม (Supranationalism)

         28 สมพงศ์ ชูม​ าก อ้าง​แล้ว หน้า 21
         29 ศัพท์ร​ ัฐศาสตร์ฉ​ บับร​ าชบัณฑิตยสถานแ​ ปล Internationalism ว่าล​ ัทธิอ​ ยู่ร​ ่วมก​ ันร​ ะหว่างป​ ระเทศ ในท​ ี่น​ ี้ผ​ ู้เ​ขียนข​ อแ​ ปลว​ ่าน​ านาชาติ​
นิยมซ​ ึ่ง​เป็นท​ ี่เ​ข้าใจแ​ ละ​รับ​รู้ก​ ัน​อย่าง​แพร่​หลาย​ในแ​ วดวง​วิชาการใ​นป​ ัจจุบัน

                             ลิขสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217