Page 215 - สังคมโลก
P. 215

องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ 8-21

สมัย​ก่อน​ที่​มี​การ​ประชุม​แบบ​เฉพาะ​กิจ​เป็น​ครั้ง​คราว​และ​ไม่มี​ความ​สม่ำเสมอ​ของ​การ​ประชุม ขอบเขต​หน้าที่​ของ​ทั้ง​
สอง​องค์กร​กว้าง​ขวาง​ครอบคลุม​ทุก​ปัญหา​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ความ​มั่นคง​และ​สันติภาพ​ของ​โลก แต่​ปัญหา​พิพาท​ต่างๆ ที​่
เกี่ยวข้องก​ ับ​มหาอำนาจ​นั้นจ​ ะ​ต้องเ​สนอ​ให้​คณะ​มนตรีพ​ ิจารณา​ก่อนเ​ข้า​สู่​การป​ ระชุมข​ อง​สมัชชา

       นอกจากน​ ี้ไ​ด้ม​ ี​การจ​ ัดต​ ั้งศ​ าล​ยุติธรรม (Permanent Court of International Justice) ขึ้น​เป็น​ศาล​ประจำ​
ระหว่าง​ประเทศ โดย​ได้​มี​การ​ริเริ่ม​ความ​คิด​นี้​จาก​การ​ประชุม​สันติภาพ​ที่​กรุง​ปารีส​ใน​ปี 1919 โดย​ได้​ระบุ​ให้​มี​การ​
จัด​ตั้ง​ศาล​ระหว่าง​ประเทศ​ใน​กติกา​สันนิบาต​ชาติ ได้​มี​จัด​ประชุม​จัด​ทำ​ธรรมนูญ​ศาล​และ​ได้​รับ​ความ​เห็น​ชอบ​จาก​
สมัชชา และ​หลัง​จาก​นั้น​ได้​เปิด​โอกาส​ให้​บรรดา​รัฐ​สมาชิก​แสดง​เจตนา​เข้า​ผูกพัน​ตาม​สนธิ​สัญญา​หรือ​เป็น​ภาคี​ของ​
ธรรมนูญศ​ าลร​ ะหว่างป​ ระเทศ ที่เ​รียกว​ ่าการภ​ าคยานุวัติ (accession) ในศ​ าลย​ ุติธรรมร​ ะหว่างป​ ระเทศม​ ีผ​ ู้พ​ ิพากษาซ​ ึ่ง
พ​ ิจารณาค​ ดไี​ปต​ ามก​ ฎหมายโ​ดยไ​มถ่​ ือว่าผ​ ูพ้​ ิพากษาเ​ป็นต​ ัวแทนข​ องร​ ัฐใ​ดร​ ัฐห​ นึ่ง  ดังน​ ั้น​  ศาลย​ ุติธรรมร​ ะหว่างป​ ระเทศ​
จึง​มี​ความ​เป็น​อิสระ​และ​มี​ธรรมนูญ​เป็น​ของ​ตนเอง แต่​อย่างไร​ก็ตาม​ใน​ทาง​ปฏิบัติ​ศาล​ยุติธรรม​แห่ง​นี้​ก็​ยัง​มี​ความ​
สัมพันธ์​กับ​มหาอำนาจ​อย่าง​ใกล้​ชิด จาก​แนวคิด​ที่​ว่า​รัฐ​ทุก​รัฐ​มี​ความ​เสมอ​ภาค​กัน​ตาม​กฎหมาย​ซึ่ง​ถือ​เป็น​หลัก​การ​ที่​
สำคัญ​ที่​ต้อง​ยึดถือ​ปฏิบัติ กล่าว​คือ​รัฐ​ทั้ง​หลาย​มี​สิทธิ​และ​หน้าที่​อย่าง​เดียวกัน​ตาม​หลัก​กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ แต่​
ใน​ความ​เป็นจ​ ริง ไม่มี​ความ​เสมอ​ภาค​ระหว่าง​รัฐ​ต่างๆ เนื่องจาก​รัฐ​มี​ความ​แตกต​ ่าง​ทาง​กายภาพ เช่น อาณาเขต​พื้นที่
จำนวน​ประชากร ทรัพยากรท​ าง​เศรษฐกิจ อารยธรรม แสนยานุภาพท​ างการท​ หาร และ​พลัง​อำนาจแ​ ฝง (Soft Power)
ทีท่​ ำใหร้​ ัฐอ​ ื่นป​ ฏิบัตติ​ ามค​ วามต​ ้องการโ​ดยไ​ม่รูส้​ ึกเ​หมือนว​ ่าถ​ ูกบ​ ังคับ37 ปัญหาน​ ีเ้​ป็นป​ ัญหาพ​ ื้นฐ​ านข​ องอ​ งค์การร​ ะหว่าง​
ประเทศท​ กุ อ​ งคก์ าร ความส​ มั พนั ธท​์ ไี​่ มเ​่ ทา่ เ​ทยี มก​ นั ร​ ะหวา่ งร​ ฐั น​ สี​้ ามารถเ​หน็ ไ​ดใ​้ นท​ กุ อ​ งคก์ ารร​ ะหวา่ งป​ ระเทศโ​ดยเ​ฉพาะ​
อยา่ งย​ ิง่ แ​ บบม​ ส​ี มาชกิ แ​ บบเ​ตม็ จ​ ำนวนแ​ ละแ​ บบจ​ ำกดั จ​ ำนวน การป​ ระชมุ แ​ บบส​ มาชกิ เ​ตม็ จ​ ำนวนน​ ัน้ ม​ บ​ี างส​ ว่ นค​ ลา้ ยคลงึ ​
กับ​การ​ประชุม​ทางการ​ทูต กล่าว​คือ​เป็นการ​ประชุม​ของ​ผู้​แทน​ของ​รัฐ​สมาชิก​ทั้ง​หลาย​เพื่อ​ทำ​หน้าที่​อภิปราย ถก​เถียง​
และ​ลง​มติ​ใน​เรื่อง​ต่างๆ เป็น​ครั้ง​คราว​ตาม​ที่​ตราสาร (statute) หรือ​ธรรมนูญ​ก่อ​ตั้ง (constitution) ของ​องค์การ​
ระหว่าง​ประเทศ​นั้น​ได้​กำหนด​ไว้ เช่น สมัชชา​ใหญ่​แห่ง​สหประชาชาติ​ประ​ชุม​ทุกๆ ปี​ช่วง​ประมาณ​เดือน​กันยายน​ที่​
เรียก​กัน​ว่าการ​ประชุม​สมัชชา​ใหญ่​สามัญ​มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​พิจารณา​วาระ​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ปัญหา​ทางการ​เมือง
เศรษฐกิจ สังคม​และ​วัฒนธรรม ครอบ​คลุม​ทุกๆ เรื่อง​ใน​สหประชาชาติ ซึ่ง​แตก​ต่าง​จาก​การ​ประชุม​ทางการ​ทูต​ที่​มี​
การ​อภิปราย ถก​เถียง​และ​ลง​มติ​ภายใน​ระยะ​เวลา​ที่​กำหนด​และ​จะ​สลาย​ตัว​ไป​เมื่อ​พ้น​ระยะ​เวลา ส่วน​การ​ประชุม​
แบบ​จำกัด​จำนวน​สมาชิก​จะ​มี​การ​คัด​เลือก​รัฐ​สมาชิก​จาก​เขต​ภูมิศาสตร์​ต่างๆ ให้​ได้​สัดส่วน​เพื่อ​เป็น​ตัวแทน​จาก​รัฐ​
สมาชิก​อื่น​ที่​มี​อยู่​จำนวน​มาก เพื่อ​ให้​บรรลุ​ตาม​วัตถุประสงค์​และ​ความ​คล่อง​ตัว​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน การ​ประชุม​แบบ​นี้​
จะ​เป็นอ​ งค์กรท​ ี่เ​รียกก​ ันว​ ่าค​ ณะ​มนตรี (Council) คณะ​กรรมการบ​ ริหาร (Executive committee) หรือ​คณะ​มนตรี​
เกี่ยว​กับ​การ​บริหาร (Council of administration) จะ​ปฏิบัติ​หน้าที่​ร่วม​กับ​เลขาธิการ​ทำ​หน้าที่​รับ​ผิด​ชอบ​เฉพาะ​
เรื่อง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง​เพื่อ​เตรียม​การ​ประชุม​ก่อน​การ​ประชุม​ใหญ่​เต็ม​คณะ​หรือ​การ​ประชุม​สมัชชา​ใหญ่​อีก​ครั้ง​หนึ่ง และ​
เมื่อ​ที่​ประชุม​ใหญ่เ​ต็มค​ ณะล​ ง​มติเ​สร็จ​สิ้น​เรียบร้อย​แล้ว องค์กร​นี้​ก็​จะต​ ิดตาม​ผลแ​ ละ​บริหาร​งาน​ให้เ​ป็น​ไปต​ าม​มติ​ของ​
สมัชชาใ​ หญ่

       ใน​การ​ศึกษา​ลักษณะ​โครงสร้าง​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ นัก​กฎหมาย​ระหว่าง​ประเทศ​ได้​พยายาม​แบ่ง​
ประเภทข​ องโ​ครงสร้าง​ของอ​ งค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ​ตามล​ ักษณะ​ของ​องค์การ​ไว้ 3 หลักก​ าร คือ หลัก​การแ​ รก การ​แบ่ง​
ตาม​ที่มา​ของอ​ งค์การ​ซึ่งจ​ ะ​ประกอบ​ไป​ด้วย​องค์กร​หลัก (organes principaux) องค์กร​รอง (organes subsidaires)
และอ​ งค์กรท​ ีจ่​ ัดต​ ั้งข​ ึ้นโ​ดยต​ ราสารก​ ่อต​ ั้ง หลักก​ ารท​ ีส่​ อง การแ​ บ่งต​ ามอ​ งคป์​ ระกอบข​ องอ​ งค์การซ​ ึ่งป​ ระกอบด​ ้วยอ​ งค์กร​

         37 โจเ​ซฟ นาย ไดอ้​ ธิบายพ​ ลังอ​ ำนาจแ​ ฝง (Soft Power) คืออ​ ิทธิพลข​ องร​ ัฐห​ นึ่งซ​ ึ่งส​ ่งผ​ ลต​ ่อพ​ ฤติกรรมข​ องอ​ ีกร​ ัฐห​ นึ่งโ​ดยป​ ราศจากก​ ารใ​ช​้
กำลงั ท​ หาร แตใ​่ ชน​้ โยบายท​ างการท​ ตู การแ​ ทรกแซงท​ างเ​ศรษฐกจิ และท​ างว​ ฒั นธรรม รวมถ​ งึ พ​ ลงั อ​ ำนาจท​ ขี​่ บั เ​คลือ่ นข​ องอ​ งคก์ รท​ ไี​่ มใ่ ชร​่ ฐั ห​ รอื ส​ ถาบนั ​
ระหว่างป​ ระเทศแ​ ทน ดูเ​พิ่มเ​ติม Joseph S. NYE, Soft Power; the means to success in world politics, Public Affairs, USA, 2004.

                              ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220