Page 220 - สังคมโลก
P. 220
8-26 สังคมโลก
ดิเรก ชัยนาม รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยในขณะนั้นได้ชี้แจงว่าการที่ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกของ
สหประชาชาติมีเหตุผลสำคัญ 4 ประการ คือ
1. เพือ่ ค วามม ัน่ คงข องไทย เนือ่ งจากป ระเทศไทยเหน็ ว า่ ม ภี ยั ค กุ คามท สี่ ำคญั 2 ประการค อื ประการแ รก หลงั
จากส งครามโลกค รั้งท ี่ 2 สิ้นส ุดล ง บางร ัฐฝ ่ายต ะวันต กย ืนยันว ่าป ระเทศไทยเป็นผ ู้พ ่ายแ พ้ส งคราม ประการท ส่ี อง ภัย
คุกคามจ ากล ัทธคิ อมมิวนิสต์ ถึงแ ม้ว่าข ณะน ั้นส หรัฐอเมริกาจ ะแ สดงท ่าทที ีเ่ป็นม ิตรก ับไทย แตไ่ทยก ไ็มส่ ามารถเชื่อใจ
และห วังพ ึ่งส หรัฐอเมริกาได้เพียงฝ่ายเดียว ดังน ั้น ป ระเทศไทยจ ึงเห็นว่าสหประชาชาติเป็นองค์การที่ม ีกำลังมากที่สุด
ที่สามารถธ ำรงสันติภาพ และความมั่นคง และให้ความย ุติธรรมสำหรับไทยได้
2. เพอ่ื แ สดงใหโ้ ลกเหน็ ว า่ ป ระเทศไทยเปน็ ป ระเทศเกา่ แ กช่ าตหิ นง่ึ ในฐ านะเคยเปน็ ส มาชกิ ผ กู้ อ่ ต ง้ั ส นั นบิ าตช าติ
และเป็นประเทศร่วมรบกับฝ่ายพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 1 มาแล้ว การที่ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกของ
สหประชาชาติเป็นการยืนยันก ารร ับรองฐานะว่าป ระเทศไทยเป็นร ัฐเอกราช
3. ประเทศไทยหวังค วามช่วยเหลือจ ากสหประชาชาติในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
4. เพือ่ แ สดงใหโ้ ลกเห็นว ่าป ระเทศไทยป ระสงคจ์ ะร ่วมม อื ในก ารส ร้างส ันตภิ าพแ ละค วามม ัน่ คงข องโลกอ ยา่ ง
จริงจังในก รอบของสหประชาชาติ
สหภาพยุโรป
สหภาพย ุโรป (European Union: EU) มรี ัฐส มาชิกท ั้งหมด 27 ประเทศ47 มสี ำนักงานใหญอ่ ยูท่ ีก่ รุงบ รัสเซลส์
ประเทศเบลเยียม สหภาพยุโรปถือกำเนิดอย่างเป็นทางการโดยสนธิสัญญามาสทริชต์ (Maastricht Treaty) ใน
ปี 1993 ซึ่งก่อนหน้าจะกลายมาเป็นสหภาพยุโรปเช่นในปัจจุบัน ได้มีการร่วมกลุ่มของ 3 ประชาคมที่สำคัญคือ
ประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (European Coal and Steel Community: ECSC) โดยสนธิสัญญา
ปารีส ในปี 1951 ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community: EEC) และประชาคมพลังงาน
ปรมาณูแห่งยุโรป (European Atomic Energy Community: ERATOM) โดยสนธิสัญญาโรม ในปี 1957
ต่อม าท ั้ง 3 ประชาคมน ี้ได้ร วมก ันเป็นป ระชาคมย ุโรป (European Community) โดยส นธิส ัญญาบ รัสเซลส์ ในป ี 1967
ต่อม าได้ก ลายเป็นสหภาพยุโรปในปัจจุบัน
สนธิสัญญาม าสทริชต์เน้นเสาหลักของการบูร ณาการของส หภาพยุโรปอ ยู่ 3 ประการ คือ
1. การบูรณาการทางเศรษฐกิจ โดยเริ่มจาก ประการแรก การเป็นตลาดเดียว (Single Market) โดย
เปิดให้ปัจจัยด้านทุน สินค้า บริการ และประชาชนเคลื่อนที่ได้โดยเสรี (free mouvement) ประการท่ีสอง การมี
นโยบ ายร่วม (Common Policies) ด้านการค ้า การเกษตร พลังงานแ ละส ิ่งแวดล้อม และก ารประมง เป็นต้น และ
ประการสุดท้าย การเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจแ ละก ารเงิน (European Monetary Union: EMU) มีธนาคารกลาง
แ ละใช้เงินสกุลเดียวกัน
2. ความร่วมมือด้านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคง (Common Foreign and Security Policy:
CFSP) รวมไปถึงน โยบายความมั่นคงแ ละก ารป้องกันประเทศ (Common Security and Defense Policy: CSDC)
ซึ่งเป็นค วามร ่วมมือระหว่างรัฐบาลป ระเทศสมาชิกยุโรปอย่างเสมอภาค
3. ความร ่วมมือด้านย ุติธรรมแ ละก ิจการภายใน (Justice and Home Affairs) เป็นความร่วมม ือระหว่าง
รัฐบาลอย่างเสมอภาคเช่นเดียวกัน เช่น การตรวจคนเข้าเมือง การปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด และการ
จ ัดต ั้งกองต ำรวจร่วมย ุโรป (Europol) เป็นต้น
47 ออสเตรีย เบลเยียม เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี สเปน ลักแ ซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส
สวีเดน สหราชอ าณาจักร ไซปรัส สาธารณรัฐเช็ค เอส โตเนีย ฮังการี ลัตเวีย ลิท ัวเนีย สโลว าเกีย โรมาเนีย และบ ัลแกเรีย
ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช