Page 221 - สังคมโลก
P. 221
องค์การระหว่างป ระเทศ 8-27
ลักษณะพิเศษของสหภาพยุโรปคือมีการผสมผสานของแนวคิดและวิธีปฏิบัติแบบรัฐบาลสัมพันธนิยม
(Intergovernmentalism) และแบบเหนือชาตินิยม นับว่าเป็นต้นแบบของการพัฒนาการบูรณาการแบบใหม่
กล่าวคือ มีการสร้างการบูรณาการทางเศรษฐกิจแบบรายภาค (Sectorial Integration) ที่มีการขยายพื้นที่กิจกรรม
สาธารณะและการขยายตัวของกิจกรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมออกไป โดยวิธีการดำเนินการความร่วมมือของ
สหภาพย ุโรปน ั้นจ ะม ีล ักษณะพ ิเศษค ือก ารป ระสานง านร ะหว่างก าร บูร ณาก ารท างเศรษฐกิจแ บบร ายภ าคก ับบ ูรณาก าร
ด้วยวิธีทางการเมือง (Spill-over effect) มีการใช้เครื่องมือทางการเมือง กฎหมายและเศรษฐกิจพร้อมๆ กันเพื่อ
เพิ่มพลังอำนาจให้แก่สหภาพยุโรปจนมีอิทธิพลเหนือรัฐสมาชิก48 สถาบันที่เป็นกลไกปฏิบัติการที่สำคัญของสหภาพ
ยุโรปแบ่งได้ค ือ ฝ่ายน ิติบัญญัติ ฝ่ายบ ริหาร ฝ่ายต ุลาการ และส ถาบันท างเศรษฐกิจ
ฝ่ายนิตบิ ญั ญตั ิ
สภารัฐมนตรียุโรป (Council of the European Union) เป็นองค์กรผสมของฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่าย
บริหารโดยจะประสานงานกับรัฐสภาในการพิจารณาร่างกฎหมาย มีอำนาจด้านการตัดสินใจชี้ขาดของสหภาพยุโรป
นอกจากนี้ยังรับผิดชอบด้านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วมกัน (CFSP) รวมถึงภารกิจเกี่ยวกับการเปิด
เสรีสินค้า บริการ เงินท ุน และประชาชน
รัฐสภายุโรป (European Parliament) เป็นที่ประชุมของประมุขของรัฐและคณะมนตรีในการพิจารณา
กฎหมาย การอนุมัติงบประมาณ การรับรองความต กลงระหว่างป ระเทศข องสหภาพย ุโรปกับป ระเทศน อกกลุ่ม และ
การให้การรับรองผ ู้ด ำรงต ำแหน่งในคณะก รรมาธิการย ุโรป
ฝ่ายบรหิ าร
สภายุโรป (European Council) เป็นที่ประชุมสุดยอดของประมุขของรัฐและรัฐบาลทั้ง 27 ประเทศ มี
หน้าท ี่พัฒนาและกำหนดนโยบายของส หภาพยุโรป
คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) เป็นต ัวแทนแ ละปกป้องผลประโยชน์ข องสหภาพยุโรป
โดยเป็นอ งค์กรอ ิสระจ ากร ัฐบาลข องแ ต่ละช าติ มีหน้าท ี่เสนอร ่างก ฎหมายแ ละด ูแลก ารบ ริหารง บป ระมาณข องส หภาพ
ยุโรป กรรมาธิการแต่ละคนมีหน้าท ี่ร ับผิดช อบคนละด ้านซ ึ่งมีองค์กรย่อยอยู่ภายใต้ความร ับผิดชอบของตนเอง
ฝ่ายตุลาการ
ศาลยุติธรรมแห่งส หภาพยุโรป (Court of Justice) มีสำนักงานอยู่ที่ประเทศล ักเซมเบิร์ก (Luxembourg)
มหี นา้ ท คี่ อื ใหห้ ลกั ป ระกนั ก ารเคารพก ฎหมายในก ารต คี วามแ ละส นธสิ ญั ญา และด แู ลก ารบ งั คบั ใชก้ ฎหมายข องส หภาพ
ยุโรปว ่าได้ร ับก ารป ฏิบัติแ ล้วห รือไม่เพื่อให้เกิดค วามเสมอภ าคเหมือนก ันในท ุกร ัฐส มาชิกแ ละส ถาบันท างเศรษฐกิจอ ีก
2 สถาบัน คือ สำนักต รวจสอบบัญชี (European Court of Auditors) และธ นาคารก ลางย ุโรป (European Central
Bank)
องคก์ ารน านาร ัฐอ เมริกนั
องค์การน านาร ัฐอ เมริกันก่อต ั้งขึ้นเมื่อวันท ี่ 30 เมษายน ค.ศ. 1948 ในช ่วงต ้นศ ตวรรษที่ 19 ไซมอน โบลิว าร์
(Simon Bolivar) มีความพยายามจัดตั้งองค์การความร่วมมือของประเทศต่างๆ ที่เพิ่งได้รับเอกราชในทวีปอเมริกา
ภายใต้คองเกรสแห่งปานามา (Congress of Panama) แต่ถูกคัดค้านโดยอังกฤษและสเปน จนกระทั่งปี 1890
มีก ารจัดการประชุมน านาชาติของรัฐอ เมริกาขึ้นเป็นครั้งแ รก (The First International Conference of American
States) ที่กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา อันเป็นผลทำให้เกิดการจัดตั้งองค์การความร่วมมือระดับภูมิภาคแห่งแรกใน
ทวีปอเมริกาซึ่งแต่เดิมเรียกว่าสหภาพกลุ่มอเมริกัน (Pan-American Union) และในการประชุมครั้งที่เก้าได้มีการ
48 ขจิต จิตตเสวี บทบาทข ององค์การระหว่างป ระเทศแ ละอ งค์กรเอกชนในก ารพ ัฒนาประเทศไทย อ้างแล้ว หน้า 30
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช