Page 224 - สังคมโลก
P. 224

8-30 สังคม​โลก

องคก์ าร​นอก​ภาคร​ ัฐ​ระหวา่ ง​ประเทศ	

       ใน​เวที​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ประเทศ​ปัจจุบัน ตัว​แสดง​ไม่​ได้​จำกัด​เพียง​รัฐ​และ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​
เท่านั้น ยังม​ ี​กลุ่มอ​ งค์การน​ อกภ​ าค​รัฐ​ระหว่าง​ประเทศ (International Non-Governmental Organisation: INGO)
ที่​เป็น​ตัว​แสดง​ที่​มี​บทบาท​สำคัญ​อีก​ด้วย กลุ่ม​องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​ระหว่าง​ประเทศ​เกิด​ขึ้น​มา​ตั้งแต่​ศตวรรษ​ที่ 19
และ​มี​การ​พัฒนา​เรื่อย​มา​จน​เป็น​สถาบัน​ระหว่าง​ประเทศ​อย่าง​รวดเร็ว​ใน​ศตวรรษ​ที่ 20 สหประชาชาติ​ให้การ​ยอมรับ​
บทบาทข​ องก​ ลุ่มอ​ งค์การน​ อกภ​ าคร​ ัฐร​ ะหว่างป​ ระเทศใ​นค​ วามส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างป​ ระเทศ ดังจ​ ะเ​ห็นไ​ด้ช​ ัดว​ ่าการย​ อมรับน​ ี​้
อย่างเ​ป็นท​ างการแ​ ละท​ างก​ ฎหมายส​ ่วนห​ นึ่งม​ าจ​ ากก​ ารป​ ฏิบัติข​ องส​ หรัฐอเมริกาซ​ ึ่งไ​ด้แ​ ต่งต​ ั้งผ​ ู้แ​ ทนข​ องก​ ลุ่มช​ าติต​ ่างๆ
เป็นท​ ี่​ปรึกษา​พิเศษ​แก่​คณะผ​ ู้​แทน​ของ​สหรัฐอเมริกาท​ ี่​เข้า​ร่วม​ประชุม​สหประชาชาติว​ ่า​ด้วย​องค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ52
นั่นเอง

       องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​ระหว่าง​ประเทศ​นี้​เป็น​โครงสร้าง​ความ​ร่วม​มือ​เฉพาะ​ด้าน​หรือ​กลุ่ม​วิชาชีพ​ที่​เหมือน​กัน
รวมก​ ลุ่มก​ ันภ​ ายในส​ ถาบันน​ อกภ​ าคร​ ัฐห​ รือก​ ลุ่มป​ ัจเจกช​ นท​ ีม่​ ที​ ี่มาจ​ ากน​ านาชาติ มภี​ ารกิจห​ ลากห​ ลายต​ ามว​ ัตถุประสงค​์
ของก​ าร​จัดต​ ั้ง​องค์​กา​รนั้นๆ เช่น สหพันธ์ส​ หการ​ระหว่างป​ ระเทศ (fèdèrations internationales de syndicats)53
สภา​คริสตจ​ ักร​โลก (Conseil Œcumènique des Èglises) องค์การ​นิรโทษ​กรรม​สากล (Amnesty international)
คณะ​กรรมการ​เพื่อก​ าร​ลดอ​ าวุธ​ปรมาณู (Committee for Nuclear Disarmament: CND) สภา​หอการค้า​ระหว่าง​
ประเทศ (International Chamber of Commerce) เป็นต้น องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​ระหว่าง​ประเทศ​ประกอบ​ด้วย​
เกณฑ์ 3 ประการ​คือ องค์​ประกอบ​สมาชิก​และ​วัตถุประสงค์​ที่​เป็น​สากล (caractçre international de leur
composition et de leurs objectifs) ธรรมนูญ​ก่อ​ตั้ง​เป็น​เอกเทศ​ไม่​ขึ้น​กับ​รัฐบาล (caractçre privè de leur
constitution) และ​กิจกรรมใ​น​รูปแ​ บบ​อาสาส​ มัคร​หรือ​ให้เ​ปล่าโ​ดย​ไม่​หวังผ​ ล​กำไร (caractçre bènèvole de leurs
activitès)54 ซึ่ง​จะ​แตก​ต่าง​กับ​บรรษัท​ข้าม​ชาติ (Multinational Corporations) ที่​อยู่​ใน​รูป​แบบ​ของ​บริษัท​เอกชน
มี​ศูนย์กลาง​หรือ​บริษัท​แม่​อยู่​ใน​ประเทศ​หนึ่ง และ​เป็น​เจ้าของ​บริหาร​บริษัท​อื่นๆ ใน​เครือ​หรือ​สาขา​ของ​ตนเอง
(subsidiaries) ใน​ประเทศ​อื่นม​ ากกว่า​สองป​ ระเทศข​ ึ้น​ไป โดย​บรรษัท​ข้าม​ชาติน​ ี้​แสวงหาผ​ ลก​ ำไรแ​ ละ​ใช้​ประโยชน์จ​ าก​
ทรัพยากรจ​ ากท​ ั่ว​โลก มี​การ​บริหารจ​ ัดการ​และ​การผ​ ลิต​ใน​ระดับ​โลก

       องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​เป็น​องค์การ​ที่​มี​การ​จัด​โครงสร้าง​ทั้งหมด​ที่​ปฏิบัติ​การ​ใน​ขอบเขต​ระหว่าง​ประเทศ​โดย​
ไม่มี​ความ​ผูกพัน​อย่าง​เป็น​ทางการ​กับ​รัฐบาล55 แต่​เป็นการ​ยาก​ที่​จะ​ไม่​ให้​องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​เข้า​มา​ยุ่ง​เกี่ยว​กิจการ​
ของ​รัฐ​เนื่องจาก​องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​ระหว่าง​ประเทศ​มี​วัตถุประสงค์​ของ​การ​ก่อ​ตั้ง​เพื่อ​ปกป้อง​ผล​ประโยชน์​ของ​กลุ่ม​
ต่อ​อำนาจ​รัฐ ใน​ทาง​ตรง​กัน​ข้าม บาง​ครั้ง​รัฐ​ใช้​องค์การ​นอก​ภาค​รัฐ​เพื่อ​ประโยชน์​หรือ​ภารกิจ​ของ​รัฐ​เอง​ใน​กรณี​ที่​รัฐ
ไ​ม่ต​ ้องการจ​ ะป​ ฏิบัติภ​ ารกิจน​ ั้นห​ รือไ​มส่​ ามารถป​ ฏิบัตภิ​ ารกิจน​ ั้นไ​ด้ด​ ้วยต​ ัวร​ ัฐเ​อง เช่น คอมมิวนิสต์ส​ ากล (Comintern)

         52 สมพงศ์ ชูม​ าก อ้างแ​ ล้ว หน้า 212
         53 สห​พันธ​์สหการ​ระหว่าง​ประเทศ​เป็นก​ลุ่ม​องค์กร​วิชาชีพ​เฉพาะ​เหมือน​กัน รวม​กลุ่ม​กัน​เพื่อ​แลก​เปลี่ยน​ความ​รู้ ประสบการณ์ อีก​ทั้ง​
ส่งเ​สริม พัฒนาแ​ ละป​ ระสานผ​ ลป​ ระโยชนข์​ องก​ ลุ่มเ​พื่อค​ วามเ​ป็นเ​อกภาพ กลุ่มอ​ งคว์​ ิชาชีพเ​ฉพาะเ​หล่าน​ ีม้​ มี​ ากมายห​ ลากห​ ลายข​ ึ้นอ​ ยูก่​ ับว​ ัตถุประสงค​์
ของก​ าร​จัด​ตั้ง​องค์การ มีส​ มาชิกร​ วม​กลุ่ม​อยู่ท​ ั่วโ​ลก เช่น กลุ่มส​ หการ​แรงงานด​ ้าน​เคมีภัณฑ์ เหมือง​แร่แ​ ละ​พลังงานร​ ะหว่างป​ ระเทศ (Fèdèration
internationale des syndicats de travailleurs de la chimie, de l’ènergie et des mines: ICEM) ซึ่ง​มี​สมาชิก​สหภาพ ​เช่น สหภาพ​
การไ​ฟฟ้า​ฝ่าย​ผลิต​แห่งป​ ระเทศไทย (Electricity Generating Authority of Thailand: Labour Union - EGAT-LU) กลุ่ม​อุตสาหกรรม​การ​
พิมพแ์​ ละบ​ รรจภุ​ ัณฑก์​ ระดาษ (Paper and Printing Federation of Thailand: PPFT) สหพันธแ์​ รงงานป​ ิโตรเลียมแ​ ละเ​คมีภัณฑแ์​ ห่งป​ ระเทศไทย
(Petroleum and Chemical Workers’ Federation of Thailand: PCFT) ร่วม​อยู่​ด้วย เป็นต้น ดู​เพิ่ม​เติม http://www.icem.org/fr/
13-Affili%C3%A9s-de-l’ICEM-F%C3%A9d%C3%A9rations-sindicales-internationales (20 พ.ค. 2554)
         54 Mario BETTATI, Les ONG et le droit international, Economica, Paris, 1986, citè dans Philippe BRAILLARD et
Mohammad-Reza DJALILI, op.cit, p. 47.
         55 Yearbook of International Organisations อ้าง​ใน สมพงศ์ ชู​มาก อ้างแ​ ล้ว หน้า 200

                             ลขิ สิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229