Page 222 - สังคมโลก
P. 222
8-28 สังคมโลก
ลงนามในกฎบัตรโบโกตา (Bogota Charter) ในปี ค.ศ. 1948 สถาปนาองค์การความร่วมมือทางการเมืองในทวีป
อเมริกาภ ายใต้ช ื่ออ งค์การนานารัฐอ เมริกัน (Organization of American States: OAS) ขึ้นทำห น้าที่แทนส หภาพ
กลุ่มอ เมริกันเดิมซ ึ่งต ่อม าภ ายห ลังได้ถ ูกย ุบไป ดังน ั้นอ งค์การน านาร ัฐอ เมริกันน ับได้ว ่าเป็นอ งค์การร ะหว่างป ระเทศท ี่
เก่าแก่และมีจำนวนสมาชิกมากที่สุดในทวีปอเมริกาซึ่งเป็นต้นแบบขององค์การระหว่างประเทศในระดับภูมิภาคอื่นๆ
ต่อม าอีกด ้วย
ในช่วงแรกข องการก ่อต ั้งอ งค์การน านาร ัฐอเมริกันจะม ุ่งเน้นความร ่วมม ือท างด ้านการเมือง การแก้ไขป ัญหา
โดยส นั ตวิ ิธี และก ารส ง่ เสรมิ ร ะบอบป ระชาธปิ ไตย รวมถ ึงค วามร ว่ มม ือในก ารร กั ษาค วามม ั่นคงในก รณรี ฐั ใดในภ มู ิภาค
ถูกรุกรานก็ถือว่ารัฐส มาชิกอื่นถ ูกรุกรานด ้วย รัฐสมาชิกจะต้องให้ค วามช่วยเหลือแก่รัฐที่ถูกร ุกรานทางด ้านก ารท หาร
ในก รณฉี ุกเฉินจ ะม ีก ารป ระชุมโดยท ันที และก ารด ำเนินก ารใดๆ จะต ้องไดร้ ับม ตเิสียงส นับสนุนส องในส ามข องบ รรดา
รัฐสมาชิกท ั้งหมด แต่ห ลังจากก ารล่มสลายล่มส ลายข องสหภาพโซเวียต องค์การน านารัฐอเมริกันได้ปรับบ ทบาทแ ละ
วัตถุประสงค์ข องต น โดยก ารล ดค วามส ำคัญข องก ารต ่อต ้านก ารแ พรข่ ยายข องล ัทธคิ อมมิวนิสต์ล งแ ละห ันม าให้ค วาม
สำคัญกับก ารสร้างความร่วมม ือเพื่อก ารพัฒนาร ะหว่างป ระเทศสมาชิกเพิ่มมากข ึ้น ไม่ว่าจะเป็นด ้านเศรษฐกิจ การค้า
การศึกษา สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การป้องกันและปราบปรามการค้ายาเสพติด
และการฉ้อราษฎร์บ ังหลวง
องค์การนานารัฐอเมริกันมีสมาชิก 35 ประเทศ แยกเป็นสมาชิกก่อตั้ง 21 ประเทศ และสมาชิกที่เข้าร่วม
ภายหลัง 14 ประเทศ49 นอกจากนี้ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ถาวรอีก 65 ประเทศซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศใน
อาเซียนประเทศแ รกที่เป็นประเทศผู้ส ังเกตการณ์ถาวรข องอ งค์การนานาร ัฐอเมริกันเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1998
องค์กรห ลักของอ งคก์ ารน านารฐั อ เมรกิ นั ประกอบด ้วย
สมัชชาใหญ่ (General Assembly) เป็นองค์กรสูงสุด มีขอบเขตหน้าที่ในการพิจารณาสถานการณ์ทั่วไป
งบป ระมาณ โครงการต ่างๆ ของห น่วยงานภ ายใต้องค์การแ ละกำหนดก รอบก ารป ฏิบัติงานให้ส ำนักเลขาธิการ
คณะมนตรีถาวร (Permanent Council) ทำหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงานต่างๆ ให้เป็นไปตามมติของสมัชชา
ใหญ่ หรือท ี่ป ระชุมหารือของรัฐมนตรีว ่าการก ระทรวงก ารต ่างป ระเทศ (Meeting of Consultation of Ministers of
Foreign Affairs) และด ูแลการป ฏิบัติการข องค ณะก รรมาธิการป ระจำต ่างๆ
สำนกั เลขาธกิ ารใหญ่ (General Secretariat) มหี นา้ ท ดี่ แู ลก ารด ำเนนิ ก ารโครงการต า่ งๆ ของค ณะก รรมาธกิ าร
ต่างๆ ขององค์การนานารัฐอเมริกันซึ่งได้รับอนุมัติจากสมัชชาใหญ่ โดยมีเลขาธิการ (Secretary General) และ
ผู้ช่วยเลขาธิการ (Assistant Secretary General) ซึ่งได้รับก ารเลือกตั้งจากสมัชชาใหญ่ ดำรงตำแหน่งว าระละ 5 ปี
นอกจากนี้ สมัชชาใหญ่ได้แต่งตั้งเลขาธิการอาวุโส (Senior secretariat officials) และรองเลขาธิการทำ
หน้าที่ควบคุมและดูแลการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงาน เช่น คณะกรรมาธิการด้านการพัฒนา (Inter-American
Council for Integral Development: CIDI) คณะกรรมาธิการค วบคุมและปราบป รามย าเสพต ิด (Inter-American
Drug Abuse Control Commission: CICAD) คณะกรรมาธิการด ้านส ิทธิม นุษยชน (Inter-American Commis-
sion on Human Rights: IACHR) และหน่วยงานส ่งเสริมการพ ัฒนาการป กครองร ะบอบประชาธิปไตย (Unit for
Promotion of Democracy: UPD)50
49 สมาชิกก ่อตั้ง ได้แก่ อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์
กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส เม็กซิโก นิการากัว ปานามา ปารากวัย เปรู สหรัฐอเมริกา อุร ุกวัย เวเนซุเอลา และส มาชิกที่เข้าร่วมภายห ลัง 14 ประเทศ
ได้แก่ แอนติกัวและบาร์บูดา เซนต์วินเซนต์และ เกรนาดีน จาเมกา บาร์เบโดส เกรนาดา สุรินัม โดมินิกา เซนต์ลูเซีย บาฮามาส เซนต์คิตส์และ
เนวิส แคนาดา เบลิซ กายอานา ตรินิแดดแ ละโตเบโก
50 ดูเพิ่มเติม http://www.mfa.go.th/web/2390.php?id=389
ลิขสิทธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช