Page 226 - สังคมโลก
P. 226
8-32 สังคมโลก
ศึกษา ยุโรปและนานาชาติศึกษา และมูลนิธิร๊อกกี้เฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นมูลนิธิที่ใหญ่อันสาม
ข องโลกท ี่เน้นโครงการด้านสุขภาพ โภชนาการ วิทยาศาสตร์ ชีวเคมี และป ระชากร ในช่วงทศวรรษท ี่ 1960 ทั้งส อง
มูลนิธิได้ร่วมมือกันจัดตั้งโครงการปฏิวัติสีเขียว (Green Revolution)57 เพื่อช่วยเหลือภาวะอดอยากในประเทศ
ด้อยพัฒนาโดยให้ทุนแก่สถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice Research Institute: IRRI) เพื่อ
ป รับปรุงพ ันธุ์ข้าวโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าบทบาทขององค์การนอกภาครัฐระหว่างประเทศส่งผลกระทบในความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ อีกท ัง้ ย งั ใหเ้กดิ แ ละก ารนำเอาบ รรทัดฐานร ะหวา่ งป ระเทศไปใชอ้ ย่างแ พรห่ ลาย บางค รั้งถ ึงอ าจจ ะถ ึงข ึ้นก ำหนด
พฤตกิ รรมซ ึง่ ม อี ทิ ธพิ ลแ ละข อบเขตก จิ กรรมอ ยา่ งก วา้ งข วางในค วามส มั พนั ธร์ ะหวา่ งป ระเทศได้ เชน่ องคก์ ารท างศ าสนา
คาธอล ิคของน ครรัฐวาติกัน (Vatican City) หรือลัทธิพ ื้นฐานอ ิสลาม (Islamic Fundamentalism) เป็นต้น
กจิ กรรม 8.2.1
องค์การระหว่างประเทศแบง่ ออกได้ก่ีประเภท อะไรบ า้ ง
แนวตอบกจิ กรรม 8.2.1
ประเภทองค์การระหว่างประเทศแบ่งออกอย่างกว้างๆ ได้ 3 ประเภท คือ แบ่งตามองค์ประกอบทาง
ภมู ิศาสตร์ แบ่งต ามล กั ษณะอ ำนาจ และแ บ่งต ามจดุ มุ่งห มาย
เร่ืองที่ 8.2.2
บทบาทข องอ งค์การระหวา่ งป ระเทศ
โดยทั่วไปจุดประสงค์หลักของการก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศคือการสร้างสันติภาพและความมั่นคง
ส่งเสริมให้มีการติดต่อและให้มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างรัฐ มีการประสานผลประโยชน์ทางการเมืองเพื่อนำไปสู่การ
บูร ณาก ารเป็นป ระชาคมท างการเมือง (Political community) ในร ะดับข องค วามร ่วมม ือข ั้นส ูงข ึ้นไป องค์การร ะหว่าง
ประเทศจึงเป็นกลไกที่ช่วยประสานแนวคิด การตัดสินใจร่วมกัน รวมถึงการนำแนวคิดไปปฏิบัติใช้ รัฐและสมาชิก
ต่างๆ พร้อมท ี่จะป ฏิบัติตามกฎข้อบังคับของอ งค์การเพื่อระงับค วามข ัดแย้ง และธ ำรงไว้ซึ่งสันติภาพแ ละความมั่นคง
ระหวา่ งป ระเทศร ว่ มก นั บทบาทข องอ งคก์ ารร ะหวา่ งป ระเทศม จี งึ ค วามห ลากห ลายข ึน้ อ ยกู่ บั ว ตั ถปุ ระสงคข์ องก ารก อ่ ต ัง้
องค์การระหว่างประเทศนั้น ในปัจจุบันปัญหาระหว่างประเทศมีความหลากหลาย ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปอย่าง
มากและรวดเร็ว องค์การระหว่างประเทศจึงต้องมีการปรับบทบาทของตนเองเพื่อจัดการกับปัญหาดังกล่าวได้อย่าง
57 การเปลี่ยนแปลงการทำการเกษตรดั้งเดิมม าเป็นการเกษตรแ บบใหม่ที่ให้ผลผลิตส ูง โดยการใช้พันธุ์พืชท ี่ผ สมข ึ้นม าใหม่ ใช้ปุ๋ยเคมี
สารกำจัดศัตรูพืช เครื่องจักรกล การชลประทานและความรู้การจัดการฟาร์มอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนี้นำมาซึ่ง
ผลกระทบในระบบนิเวศน์ท้องถิ่นอย่างรุนแรงในระยะเวลาต่อมาที่ต้องเผชิญกับปัญหาการสูญหายไปของพันธุกรรมพืชพื้นเมืองอย่างรวดเร็ว
เนื่องจากการเข้ามาแ ทนของพ ืชพันธุ์ใหม่
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช