Page 230 - สังคมโลก
P. 230

8-36 สังคมโ​ลก

บทบาท​ด้าน​สงั คมข​ องอ​ งคก์ ารร​ ะหว่างป​ ระเทศ

       บทบาท​ด้าน​สังคม​ของ​องค์การ​ระหว่าง​ประเทศ​เพิ่ม​มาก​ขึ้น​เรื่อยๆ เนื่องจาก​มี​การ​พัฒนา​และ​ความ​ก้าวหน้า​
ทาง​เทคโนโลยี​ทาง​ด้าน​อุตสาหกรรม​และ​ระบบ​สารสนเทศ​ที่​ขยาย​ตัวอย่าง​กว้าง​ขวาง​ใน​ปัจจุบัน​ส่ง​ผล​ดี​ให้​กับ​ประเทศ​
ต่างๆ ได้ม​ ี​การ​ติดต่อ​กัน​อย่างใ​กล้ช​ ิดแ​ ละ​รวดเร็ว

       แต่ใ​นท​ างต​ รงก​ ันข​ ้ามก​ ็ส​ ่งผ​ ลร​ ้าย ทำให้เ​กิดป​ ัญหาส​ ังคมต​ ามม​ าไ​ด้เ​ช่นก​ ัน องค์การร​ ะหว่างป​ ระเทศจ​ ึงเ​ข้าม​ าม​ ​ี
บทบาท​สำคัญ​เพื่อแ​ ก้ไขป​ ัญหาส​ ังคม​เหล่า​นี้

       ปัญหา​ด้าน​สิทธิ​มนุษย​ชน สหประชาชาติ​ได้​ส่ง​เสริม​สิทธิ​มนุษย​ชน​โดย​รับรอง​ปฏิญญา​สากล​ว่า​ด้วย​สิทธิ​
มนุษย​ชน (Universal Declaration of Human Rights: UDHR) ในป​ ี 1948 จุด​มุ่งห​ มาย​ที่​สำคัญเ​พื่อ​ต้องการใ​ห้​
มนุษย์​ทุก​คน​มี​หลัก​ประกัน​เกี่ยว​กับ​สิทธิ​พื้น​ฐาน​ซึ่ง​จะ​ต้อง​ไม่​ถูก​ละเมิด​โดย​รัฐ​อัน​สอดคล้อง​กับ​แนวคิด​ที่​ว่า​อำนาจ
ส​ ูงสุดม​ าจ​ ากป​ ระชาชน สมัชชาแ​ ห่งส​ หประชาชาตใิ​ห้ค​ วามส​ ำคัญใ​นก​ ารร​ ับฟ​ ังป​ ระเด็นเ​กี่ยวก​ ับส​ ิทธิม​ นุษยช​ นอ​ ย่างม​ าก
ในป​ ี 2006 ไดม​้ ก​ี ารก​ อ่ ต​ ัง้ ค​ ณะม​ นตรส​ี ทิ ธม​ิ นษุ ยช​ นแ​ หง่ ส​ หประชาชาติ (United Nations Human Rights Council) ขึน้
แ​ ละ​มีส​ ำนักงาน​ข้าหลวง​ใหญ่เ​พื่อส​ ิทธิม​ นุษยช​ น (Office of High Commissioner for Human Rights: OSCHR)
ซึ่ง​เป็น​องค์กร​ที่​ทำ​หน้าที่​ติดตาม ตรวจ​สอบ ให้​คำ​แนะนำ​และ​นำ​เสนอ​เรื่อง​การ​ละเมิด​สิทธิ​มนุษย​ชน​ต่อ​ที่​ประชุม​
สมัชชา

       สหประชาชาติ​มี​บทบาท​ด้าน​สังคม​และ​ได้​ดำเนิน​การ​ผ่าน​ทาง​องค์กร​ของ​สหประชาชาติ​เอง เช่น โครงการ​
เพื่อก​ ารพ​ ัฒนา (UNDP) และค​ ณะก​ รรมาธิการส​ ิทธิม​ นุษยช​ น (Commission on Human Rights) รวมถ​ ึงย​ ังม​ บี​ ทบาท​
ใน​การ​บรรเทา​ความ​หิวโหย​และ​ความ​ยาก​ชน​ใน​ชนบท​ใน​ประเทศ​กำลัง​พัฒนา​ทั้ง​หลาย​อีก​โดย​ได้​พัฒนา​ระบบ​สิน​เชื่อ​
เพื่อก​ ารเกษตร​ผ่านก​ องทุน​ระหว่างป​ ระเทศ​เพื่อ​การ​พัฒนาเ​กษตรกรรม (IFAD) เป็นต้น

       ปัญหา​ด้าน​แรงงาน สหประชาชาติ​ได้​ตระหนัก​ถึง​ปัญหา​สังคม​ด้าน​แรงงาน​โดย​ได้​รับ​เอา​องค์การ​แรงงาน​
ระหว่าง​ประเทศ (International Labour Organisation: ILO)59 เข้า​มา​เป็น​เครือข​ ่าย​เพื่อท​ ำห​ น้าที่ด​ ูแลด​ ้าน​แรงงาน​
และ​ช่วยย​ ก​มาตรฐาน​แรงงาน โดยม​ ีต​ ัวแทนไ​ตรภาคีค​ ือ​จาก​รัฐบาล นายจ้าง​และล​ ูกจ้าง ทำให้อ​ งค์การ​ระหว่างป​ ระเทศ​
แตกต​ ่างจ​ ากอ​ งค์การอ​ ื่นค​ ืออ​ งค์กรน​ ายจ้างแ​ ละล​ ูกจ้างม​ ีส​ ิทธิม​ ีเ​สียงเ​ท่ากับร​ ัฐบาลใ​นเ​รื่องก​ ารว​ างน​ โยบายแ​ ละโ​ครงการ​
ต่างๆ ของอ​ งค์การ จุดม​ ุ่งห​ มายข​ องอ​ งค์การค​ ือส​ ่งเ​สริมใ​หม้​ าตรฐานต​ ่างๆ ตลอดจ​ นห​ ลักก​ ารแ​ ละส​ ิทธขิ​ ั้นพ​ ื้นฐ​ านใ​นก​ าร​
ทำงาน​บร​รุ​ลุ​ผล เพิ่ม​โอกาส​ให้​หญิง​และ​ชาย​มี​งาน​และ​ราย​ได้ที่​เหมาะ​สม ให้​ทุก​คน​ได้​รับ​การ​คุ้มครอง​ทาง​สังคม และ​
ส่งเ​สริมก​ ระบวนการไ​ตรภาคแี​ ละก​ ารเ​จรจาท​ างส​ ังคม นอกจากน​ ีอ้​ งค์การแ​ รงงานร​ ะหว่างป​ ระเทศย​ ังด​ ำเนินก​ ารส​ ืบสวน​
เรื่องร​ าวต​ ่างๆ จากข​ ้อร​ ้องท​ ุกข์ข​ องผ​ ู้ใ​ช้แ​ รงงาน หรือโ​ดยว​ ิธีอ​ ื่นๆ รวมท​ ั้งต​ ั้งก​ รรมการส​ อบใ​นก​ รณีม​ ีก​ ารล​ ะเมิดส​ ิทธิข​ อง​
ผู้​ใช้แ​ รงงาน​อีก​ด้วย60

       ความ​ช่วย​เหลือ​ด้าน​มนุษยธรรม องค์กร​ที่​ดูแล​บรรเทา​ผู้​ลี้​ภัย​จาก​สงคราม​คือ​สำนักงาน​ข้าหลวง​ใหญ่​ผู้​ลี้​ภัย​
แห่ง​สหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees: UNHCR) ทำห​ น้าที่​ให้​ความช​ ่วย​เหลือ​
แก่​ผู้​ลี้​ภัย​สงคราม​เนื่อง​มา​จาก​สาเหตุ​ด้าน​เผ่า​พันธ์ ศาสนา เชื้อ​ชาติ หรือ​ความ​คิด​เห็น​ทางการ​เมือง​ที่​แตก​ต่าง ให้การ​
คุ้มครอง​บุคคล​ที่​ได้​รับ​ภัย​จาก​สงคราม ไร้​ที่​อยู่​อาศัย หรือ​บุคคล​ไร้​สัญชาติ​ให้​พำนัก​อาศัย​โดย​ไม่มี​การ​บังคับ​ส่ง​กลับ​
ไปย​ ัง​ประเทศ​ที่ถ​ ูกก​ ดขี่ข​ ่มเหง นอกจาก​นี้ย​ ัง​มี​องค์กรท​ ี่​ทำห​ น้าที่บ​ ริการส​ ังคม เช่น กองทุน​ฉุกเฉิน​เด็กร​ ะหว่าง​ประเทศ​

         59 องค์การ​แรงงาน​ระหว่าง​ประเทศ​ตั้ง​ขึ้น​เมื่อ​ปี 1919 ก่อน​การ​ก่อ​ตั้ง​องค์การ​สหประชาชาติ องค์การ​นี้​เป็น​องค์การ​ชำนัญ​เฉพาะ​เรื่อง​
องคก์ ารแ​ รกท​ เี​่ ขา้ อ​ ยใู​่ นเ​ครอื ส​ หประชาชาตใ​ิ นป​ ี 1946 รฐั ส​ มาชกิ ท​ เี​่ ปน็ ผ​ รู​้ เิ ริม่ ก​ อ่ ต​ ัง้ ซ​ ึง่ ม​ ป​ี ระเทศไทยร​ วมอ​ ยดู​่ ว้ ยแ​ ละป​ ระเ​ทศ​ อืน่ ๆ อกี ใ​นภ​ าคพ​ ืน้ เ​อเชยี ​
และ​แปซิฟิก เช่น จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และน​ ิวซีแลนด์ ดูเ​พิ่ม​เติม คุณ​หญิง​แม้น​มาส ชวลิต องค์การช​ ำนัญ​พิเศษ​เฉพาะเ​รื่อง สารานุกรม​ไทย​สำหรับ​
เยาวชน​เล่ม​ที่ 21 และ​องค์การ​แรงงาน​ระหว่าง​ประเทศ http://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/@asia/@ro-bangkok/documents/
publication/wcms_098257.pdf (20 พ.ค. 2554)

         60 ดู​เพิ่มเ​ติม ธาร​ทอง ทอง​สวัสดิ์ อ้างแ​ ล้ว หน้า 646-647

                             ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235