Page 227 - สังคมโลก
P. 227
องค์การร ะหว่างประเทศ 8-33
มีประสิทธิภาพและทันต่อเหตุการณ์มากยิ่งขึ้น บทบาทขององค์การระหว่างประเทศสามารถแบ่งออกได้คือบทบาท
ทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางสังคม
บทบาททางการเมอื งของอ งคก์ ารร ะหวา่ งป ระเทศ
บรรดานักคิดทั้งหลายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุโรปได้พยายามเสนอให้รัฐต่างๆ ยกเลิกการแก้ไขปัญหาด้วย
วิธีทางการทหาร โดยได้มีการก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศขึ้นมาควบคุมพฤติกรรมทางการเมืองระหว่างประเทศ
ซึ่งนับว่าเป็นวิธีการหนึ่งซึ่งบรรดารัฐต่างๆ ได้นำมาใช้ในการจัดระเบียบให้กับพฤติกรรมการเมืองระหว่างประเทศ
ดังนั้นบ ทบาททางการเมืองขององค์การระหว่างป ระเทศจ ึงถ ือว่ามีค วามส ำคัญต่อการพัฒนาการเมืองระหว่างป ระเทศ
เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง บทบาททางการเมือง ได้แก่ การระงับกรณีพิพาทด้วยสันติวิธี การรักษา
สันติภาพแ ละความม ั่นคง การค วบคุมและล ดกำลังอาวุธ เป็นต้น
การระงับกรณพี พิ าทด้วยส ันติว ิธี มีด้วยกันห ลายว ิธีคือ การเจรจา (Negotiation) การไกล่เกลี่ย (Media-
tion) การช่วยเป็นสื่อกลาง (Good offices) การะประนีประนอม (Conciliation) วิธีการเหล่านี้ถือว่าเป็นการระงับ
กรณีพิพาทที่ไม่มีลักษณะทางตุลาการ หมายความว่าเป็นวิธีการระงับกรณีพิพาทที่มีลักษณะทางการเมืองระหว่าง
ประเทศหรือทางการทูตโดยไม่จำเป็นต้องใช้หลักกฎหมายระหว่างประเทศ ไม่มีผลผูกพันทางกฎหมายของคู่กรณี
แต่วิธีการเหล่านี้เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปและองค์การระหว่างประเทศได้นำมาใช้แทบทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังมีวิธีการ
ระงับกรณีพิพาทที่มีลักษณะทางตุลาการอีกคืออนุญาโตตุลาการ (Arbitration) และศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
(ICJ) อย่างไรก็ตามองค์การระหว่างประเทศหลายองค์กรได้พัฒนากลไลและองค์กรระงับกรณีพิพาทของตนเองขึ้น
องค์การระหว่างประเทศจึงม ีบ ทบาททางการเมืองที่สำคัญทั้งในระดับส ากลและระดับภ ูมิภาค
สหประชาชาติม ีบทบัญญัติเกี่ยวกับการระงับกรณีพ ิพาทโดยสันติวิธีไว้ในหมวดที่ 6 มาตรา 33 (1) ระบุว ่า
“ผู้เป็นฝ่ายในกรณีพิพาทใดๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไปน่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง
ระหว่างป ระเทศ จะต ้องแ สวงหาก ารแ กไ้ ขโดยก ารเจรจา การไต่สวน การไกลเ่ กลีย่ การป ระนีประนอม อนุญาโตตุลาการ
การระงับโดยศาล การใช้องค์กรหรือข้อตกลงในระดับภูมิภาคหรือวิธีการระงับกรณีพิพาทโดยสันติวิธีการอื่น
ตามแ ตค่ ูพ่ ิพาทจ ะเลือก” ดังน ั้นจ ากม าตรา 33 (1) นีจ้ ะเห็นไดว้ ่าส หประชาชาตมิ บี ทบาทในก ารร ะงับก รณพี ิพาทร ะหว่าง
ประเทศด้วย อย่างไรก็ตามบทบาทสหประชาชาติก็ถูกจำกัดไว้ในกรณีซึ่งจะเป็นภัยอันตรายต่อสันติภาพและความ
มั่นคงเท่านั้น ดังนั้นไม่จำเป็นต้องระงับกรณีพิพาทระหว่างประเทศทุกกรณี กรณีพิพาทระหว่างประเทศ เนื่องจาก
กรณีพิพาทมีทั้งทางการเมืองและทางกฎหมาย บทบาทของสหประชาชาติจะเน้นแก้ไขกรณีพิพาททางการเมืองเป็น
สำคัญจึงไม่ซ๊ำซ้อนกับหน้าที่ของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ทั้งนี้องค์การระหว่างประเทศสามารถเลือกใช้วิธีทาง
การทูตอื่น เช่น การให้คำปรึกษา (Consultation) แก้คู่กรณีเพื่อช่วยหาทางออกในกรณีพิพาท การใช้การทูตเชิง
ป้องกัน (Preventive Diplamacy) และการใช้ก ารท ูตแ บบเงียบ (Quiet Diplomacy) เพื่อระงับกรณีพ ิพาทร ะหว่าง
ประเทศได้
การรกั ษาส ันติภาพและค วามม น่ั คง ถือว่าเป็นอ ีกหนึ่งบ ทบาทห ลักข องอ งค์การระหว่างป ระเทศ วิธีการร ักษา
ความม ั่นคงร ่วมก ัน (Collective Security) สามารถก ระทำไดท้ ั้งท ีใ่ชก้ ำลังท หารแ ละไมใ่ชก้ ำลังท หาร ในม าตรา 41 ของ
กฎบตั รส หประชาชาติ ระบใุ ห้ คณะม นตรคี วามม ัน่ คงว นิ ิจฉัยว า่ จ ะใชม้ าตรการใดท ไี่ มใ่ชก้ ำลงั อ าวธุ เช่น การต ดั ส มั พนั ธ์
ทางเศรษฐกิจ การคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอ ากาศ ทางไปรษณีย์ ทางโทรเลข ทางว ิทยุ และท างค มนาคมทาง
อื่นโดยสิ้นเชิงหรือเพียงบ างส่วน และการตัดค วามสัมพันธ์ท างการทูต ส่วนม าตรา 51 ยินยอมให้มีการใช้กำลังได้โดย
ลำพังหรือร ่วมก ันก ับค ณะมนตรีความมั่นคงก ็ได้ มาตรการก ารใช้กำลังเพื่อสิทธิป้องกันตนเองน ี้จ ะต ้องได้รับอนุญาต
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช