Page 113 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 113

ประเภทข​ องบ​ รรจุภ​ ัณฑ์ 2-45

เร่ือง​ที่ 2.2.2
บรรจุภ​ ณั ฑ์​จำแนก​ตาม​วตั ถปุ ระสงค​์พิเศษใ​นก​ าร​ใชง้​ าน

       สภาพก​ ารด​ ำเนินช​ ีวิตใ​นป​ ัจจุบันแ​ ละเ​ทคโนโลยบ​ี รรจภุ​ ัณฑท์​ ีม่​ คี​ วามก​ ้าวหน้าอ​ ย่างม​ ากส​ ่งผ​ ลใ​หเ้​กิดน​ วัตกรรม​
ด้านเ​ทคโนโลยีบ​ รรจุภ​ ัณฑ์ท​ ี่อ​ อกแบบแ​ ละผ​ ลิตใ​ห้ม​ ีว​ ัตถุประสงค์พ​ ิเศษใ​นก​ ารใ​ช้ง​ านแ​ ละต​ อบส​ นองค​ วามต​ ้องการข​ อง​
ผู้​บริโภค​เพื่อ​อำนวย​ความส​ ะดวก​ใน​ด้านต​ ่าง ๆ อาทิ

       1)	 ผบู​้ รโิ ภค มข​ี นาดค​ รอบครวั เ​ลก็ ล​ ง แตง่ งานช​ า้ มอี ายย​ุ นื ข​ ึน้ ทำงานม​ ากข​ ึน้ มค​ี วามร​ ูม้ ากข​ ึน้ คำนงึ ถ​ งึ ส​ ขุ ภาพ​
มาก​ขึ้น ผู้​บริโภค​จึง​มี​เวลา​ใน​การเต​รี​ยม​และ​ปรุง​อาหาร​น้อย​ลง จึง​ต้องการ​อาหาร​จาก​ธรรมชาติ และอาหาร​สำเร็จรูป​
ที่​ส่งผ​ ล​ดี​ต่อส​ ุขภาพ​ นิยม​ใช้บ​ รรจุ​ภัณฑ์อ​ าหาร​แบบพ​ ร้อม​ปรุง​หรือพ​ ร้อม​รับป​ ระทาน ผู้​บริโภคท​ ี่เ​ป็น​ผู้​สูง​อายุ​ต้องการ​
บรรจุภ​ ัณฑ์​อาหาร​ที่ห​ ยิบ​จับง​ ่าย เปิด​ปิด​ง่าย น้ำห​ นัก​เบา และ​มี​ปริมาณ​บรรจุน​ ้อย​ลง

       2)	 รูป​แบบ​การ​พัฒนาการก​ ระจายส​ ินค้า​ไปส​ ู่​ผู้​บริโภค เปลี่ยนเ​ป็น​รูปแ​ บบ​ร้าน​สะดวกซ​ ื้อ​และซ​ ู​เปอร์​มาร์เก็ต
บรรจุ​ภัณฑ์​อาหาร​ที่​วาง​บน​ชั้น​จึง​ต้อง​ออกแบบ​ให้​ขายตัว​เอง​ได้ สามารถ​บอก​ผู้​บริโภค​ได้​ว่า​ปลอดภัย​ต่อ​การ​บริโภค​
หรือ​ไม่ เคยถ​ ูกเ​ปิดม​ า​ก่อนห​ รือ​ไม่ และส​ อบก​ ลับแ​ หล่งท​ ี่มาไ​ด้

       3)	 เทคโนโลยีแ​ ละว​ ัสดุใ​หม่ ๆ ช่วยพ​ ัฒนาบ​ รรจุภ​ ัณฑ์อ​ าหาร เช่น ใช้พ​ ลาสติกท​ ี่ส​ กัดก​ ั้นไ​อน​ ้ำแ​ ละก​ ๊าซท​ ดแทน​
กระดาษ​และ​แก้ว ใช้​พลาสติก​ที่​มี​สมบัติ​กัน​การ​เกิด​ฝ้า (antifog) ซึ่ง​ช่วย​ให้​มอง​เห็น​อาหาร​ที่​บรรจุ​อยู่​ภายใน โดย​ใช้​
นาโนเ​ทคโนโลยี​ทำ​วัสดุ​เคลือบ​ผิว

       4)	 บริษัทผ​ ู้ผ​ ลิต เช่น ลด​ต้นทุน​การ​ผลิต ลดส​ ายก​ ารผ​ ลิตใ​ห้ส​ ั้น​ลง เลือก​เครื่องจักรแ​ ละก​ ระบวนการผ​ ลิต​ที​่
ทำให้​บรรจุไ​ด้เ​ร็วข​ ึ้น

       5)	 การใ​ชผ​้ ลกร​ ะท​ บด​ ้านส​ ิง่ แ​ วดลอ้ มเ​ปน็ ข​ อ้ ก​ ดี กนั ท​ างการค​ ้า การส​ ่งอ​ อกแ​ ละน​ ำเ​ข้าบ​ รรจภุ​ ณั ฑอ์​ าหารร​ ะหว่าง​
ประเทศ​ มี​ข้อ​กำหนด​ด้าน​สิ่ง​แวดล้อมม​ า​เกี่ยวข้อง เช่น กระบวนการผ​ ลิต​ใช้​เทคโนโลยีส​ ะอาด ใช้​หมึก​พิมพ์​ที่​ไม่​ก่อ​
มลพิษ ใช้​วัสดุ​ที่​สลายตัว​ได้​ง่าย​ใน​ธรรมชาติ ใช้​วัสดุ​น้อย​ที่สุด​ใน​การ​ทำ​บรรจุ​ภัณฑ์ การ​ออกแบบ​บรรจุ​ภัณฑ์​อาหาร​
โดย​คำนึง​ถึง​หลัก 3R ได้แก่ Reduce, Reuse และ Recycle และการ​ใช้​มาตรการ​บังคับ​หรือ​ส่ง​เสริม​การ​ติด​ฉลาก
​สิ่ง​แวดล้อม

       ใน​เรื่อง​ที่ 2.2.2 นี้​จึง​ขอ​ยก​ตัวอย่าง​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่​มี​การ​พัฒนา​เพื่อ​วัตถุประสงค์​พิเศษ 6 ประเภท ดังนี้
บรรจุ​ภัณฑ์​แอก​ทิฟ (active packaging) บรรจุ​ภัณฑ์​อัจฉริยะ (intelligent packaging: IP) บรรจุ​ภัณฑ์​ทำให้​
เด็กเ​ปิดย​ าก (child-resistant packaging, CR packaging) บรรจุภ​ ัณฑ์​ที่​เปลี่ยนอ​ ุณหภูมิ​ผลิตภัณฑ์​ให้เ​หมาะก​ ับ​
การ​บริโภคบรรจุภ​ ัณฑ์ไ​มโครเวฟ (microwave packaging) และ​บรรจุ​ภัณฑ์​ปลอด​เชื้อ (aseptic packaging)

1. 	บรรจภ​ุ ณั ฑ์แ​ อก​ทิฟ

       บรรจุ​ภัณฑ์​แอก​ทิฟ เป็น​บรรจุ​ภัณฑ์​ที่​ช่วย​รักษา​คุณภาพ​ความ​สด​ใหม่​ของ​ผลิตผล​การเกษตร​และ​อาหาร​
ให้​คง​อยู่​ใน​สภาพ​เดิม​ได้​นาน​ทั้ง​ทาง​ด้าน​เคมี กายภาพ และ​ประสาท​สัมผัส ช่วย​ยืด​อายุ​การ​เก็บ​รักษา​ให้​ยาวนาน​ขึ้น
รวม​ทั้ง​ทำให้​ปลอดภัย​ต่อ​การ​บริโภค โดย​อาศัย​เทคโนโลยี​การ​บรรจุ​ที่​ควบคุม​หรือ​ปรับ​สภาพ​บรรยากาศ​ภายใน​
บรรจุ​ภัณฑ์​ให้​เปลี่ยนแปลง​ไป​อย่าง​เหมาะ​สม​กับ​ผลิตผล​ทางการ​เกษตร​และ​อาหาร​แต่ละ​ชนิด ใน​ที่​นี้​ขอ​ยก​ตัวอย่าง​
บรรจภุ​ ัณฑแ์​ อกท​ ิฟท​ ีส่​ ำคัญ คือ บรรจภุ​ ัณฑแ์​ บบป​ รับบ​ รรยากาศ (modified atmosphere packaging: MAP) ซึ่งเ​ป็น

                              ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118