Page 21 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 21

10-11

เรื่องท​ ี่ 10.1.1 ความ​หมาย​และป​ ระเภทข​ องส​ ถิติ และส​ ถติ ิ​พรรณนา

สาระส​ ังเขป

1. 	ความ​หมายข​ องส​ ถติ ิ

       สถิติ (statistics) มีค​ วาม​หมาย ดังนี้
       ความ​หมาย​ที่ 1 สถิติ หมาย​ถึง ตัวเลข (number) หรือ​สารสนเทศ​ที่​ว่า​ด้วย​ตัวเลข (numerical
information) ที่แ​ สดง​ถึง​ปริมาณ​ของ​สิ่งของห​ รือ​ข้อความข​ อง​พฤติกรรม เช่น อายุ รายไ​ด้ น้ำ�​หนัก​ส่วน​สูง
จำ�นวน​นักเรียน​ที่​ผ่าน​การ​สอบ ทั้งนี้ แล้ว​แต่​วัตถุประสงค์​การนำ�​ไป​ใช้ หรือ​เก็บ​ไว้​ใน​รูป​ที่​เป็น​ค่า​สถิติ
(statistic) คือ ตัวเลข​ที่ค​ ำ�นวณ​ได้​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง หรือ​ค่า​พารามิเตอร์ (parameter) คือ ตัวเลขท​ ี่ค​ ำ�นวณ​
ได้​จากป​ ระชากร โดยเ​ก็บ​ไว้​เป็นส​ ารสนเทศ​ที่ส​ ามารถ​นำ�​ไปใ​ช้ป​ ระโยชน์​ได้ท​ ันที​ต่อ​ไป
       ความ​หมาย​ที่ 2 สถิติ หมาย​ถึง ศาสตร์ท​ ี่​ว่า​ด้วย​ระเบียบ​วิธี​การท​ าง​สถิติ ที่​เรียก​ว่า “สถิติศาสตร์”
(statistics) เป็น​ศาสตร์​ที่​ว่า​ด้วย​การ​จัด​กระทำ�​กับ​ข้อมูล​โดย​การ​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล การ​วิเคราะห์​ข้อมูล
และ​การนำ�​เสนอ​ข้อมูล

2.	 ประเภทข​ อง​สถิติ

       สถิติแ​ บ่ง​เป็น 2 ประเภท คือ สถิติ​พรรณนา และส​ ถิติ​อ้างอิง
       1.	 สถิติ​พรรณนา (descriptive statistics) หมาย​ถึง สถิติ​ที่​มุ่ง​อธิบาย หรือ​บรรยาย​ลักษณะ​ของ
ข​ ้อมูล​ที่เ​ก็บ​รวบรวม​ได้​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง หรือ​จากประชากร​กลุ่ม​ใดก​ ลุ่ม​หนึ่ง​โดย​ไม่​อ้างอิง​ไปย​ ังก​ ลุ่ม​อื่น โดย​
ค่า​สถิติน​ ี้จ​ ะ​บอกส​ ถานะข​ องก​ ลุ่ม โดย​ลดร​ ูป​ข้อมูล (data reduction) ให้อ​ ยู่​ใน​รูปท​ ี่​ง่าย​ขึ้น ช่วยใ​ห้ผู้​อ่านไ​ด้​
เข้าใจ​ค่าที่​ได้ง​ ่าย ได้แก่ ค่า​ร้อย​ละ สัดส่วน อัตราส่วน ค่า​เฉลี่ย​หรือ​ค่า​มัชฌิมเ​ลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม
ความ​โด่ง ความ​เบ้ พิสัย ส่วน​เบี่ยง​เบน​เฉลี่ย ส่วนเ​บี่ยง​เบน​มาตรฐาน ส่วน​เบี่ยง​เบนค​ ​วอไ​ทล์
       2.	 สถิติ​อ้างอิง (iznferential statistics) เป็น​สถิติ​ที่​ใช้​ข้อมูล​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง​เพื่อ​ประมาณ​ค่า​
เพื่อ​การ​ทำ�นาย เพื่อ​การ​สรุป​อ้างอิง​ไป​ยัง​ประชากร โดย​อาศัย​หลัก​การ​หาความ​น่า​จะ​เป็น​และ​การ​เลือก​กลุ่ม​
ค่า​สถิติ​ที่​คำ�นวณ​ได้​จาก​กลุ่ม​ตัวอย่าง เรียก​ว่า “ค่า​สถิติ” (statistic) ส่วน​ค่าที่​คำ�นวณ​ได้​จาก​ประชากร
​เรียก​ว่า “พารามิเตอร์” (parameter) โดย​ค่า “ค่า​สถิติ” ใช้​ทำ�นาย​ค่า “พารามิเตอร์” คือ ค่า​เฉลี่ย (X)
ทำ�นาย µ (มิว) ส่วน​เบี่ยงเ​บน​มาตรฐาน (S.D./S/s/SD) ทำ�นาย s (ซิกม​ า) ความ​แปรปรวน S.D.2/S2/s2/SD2
ทำ�นาย s2 และ n ทำ�นาย N
       สถิติอ​ ้างอิงแ​ บ่ง​เป็น 2 ประเภท คือ
       2.1 สถิติ​พารา​เมต​ริก (parametric) ซึ่ง​ใช้​กับ​ข้อมูล​ที่​เป็น​โค้ง​ปกติ ได้แก่ Z-test, t-test, F-test
และ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26