Page 23 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 23

10-13

เรื่อง​ที่ 10.1.2 การ​วิเคราะห​ข์ ้อมูลด​ ้วย​การใช้สถติ ิพ​ รรณนา

สาระ​สงั เขป

       ก่อน​ที่​จะ​วิเคราะห์​ข้อมูล นัก​วิจัย​ต้อง​ทราบ​ลักษณะ​และ​ประเภท​ของ​ข้อมูล​ก่อน โดย​แบ่ง​ข้อมูล​
ตามมาตร​วัด เป็น 4 แบบ ได้แก่ มาตร​วัด​นาม​บัญญัติ (nominal scale) มาตร​วัด​เรียง​ลำ�ดับ (ordinal
scale) มาตร​วัด​อันตรภาค​ชั้น (interval scale) และ​มาตรว​ ัดอ​ ัตราส่วน (ratio scale)

       ระดับ​ท่ี 1	 มาตร​วัด​แบบ​นาม​บัญญัติ เป็นการ​แบ่ง​ข้อมูล​เป็น​กลุ่มๆ ตัวเลข ใช้​เป็น​สัญลักษณ์​แทน​
แต่ละ​กลุ่ม เช่น เพศ (ชาย หญิง) เหรียญ (หัว-ก้อย) โดยใ​ช้​สถิติ คือ ความถี่​และ​ร้อย​ละ​เท่านั้น

       ระดับ​ท่ี 2	 มาตร​วดั ​แบบ​เรยี ง​ลำ�ดับ เป็นการ​วัด​ที่​มี​การ​จัด​ลำ�ดับ​ข้อมูล​โดย​ใช้​เกณฑ์​ที่​ชัดเจน แต่ละ​
ลำ�ดับท​ ี่เ​รียงล​ ดห​ ลั่น​กัน มีช​ ่วงห​ ่างไ​ม่เ​ท่า​กัน หรือ​ไม่ส​ ามารถ​บอก​ความ​แตก​ต่างเ​ชิง​ปริมาณไ​ด้ เช่น วุฒิ​การ​
ศึกษา เรียงล​ ำ�ดับ​ข้อมูลไ​ด้​เป็น​ประถม​ศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาต​ รี และ​สูงก​ ว่าป​ ริญญา​ตรี ค่าส​ ถิติ​ที่ใ​ช้​คือ
ความถี่​และ​ร้อย​ละ​เท่านั้น

       ระดบั ท​ ี่ 3	 มาตร​วัด​แบบ​อันตรภาค​หรือ​ระดับ​ช่วง เป็นการ​วัด​ที่​จำ�แนก​ได้​เป็นก​ลุ่ม สามารถ​เรียง​
ลำ�ดับ​ได้ และ​ช่วง​ห่าง​ของ​แต่ละ​มาตร​วัด​เท่า​กัน แต่​ค่า​อาจ​ไม่​เท่า​กัน ดัง​นั้น จึง​บอก​ปริมาณ​ความ​แตก​ต่าง​
สัญลักษณ์​แทน​แต่ละ​กลุ่ม​ได้ แต่​ปริมาณ 0 ไม่ใช่​ค่า​ศูนย์​แท้​หรือ​ไม่ใช่​จุด​เริ่ม​ต้น​ที่​คงที่​สำ�หรับ​ทุก​หน่วย​
การ​วัด ข้อมูลป​ ระเภท​นี้ ได้แก่ คะแนน อุณหภูมิ ความด​ ันโ​ลหิต เป็นต้น โดย​ใช้​สถิติค​ ือ ค่าเ​ฉลี่ย และส​ ่วน
เ​บี่ยงเ​บนม​ าตรฐาน

       ระดบั ​ท่ี 4	 มาตร​วัด​แบบ​อัตราส่วน เป็นการ​วัด​ที่​เทียบ​สิ่ง​ที่​วัด​กับ​มาตรฐาน​ที่​มี​จุด​เริ่ม​เท่ากับ 0
ความ​หมาย​ว่า​ไม่มี​ค่า​ใดๆ ข้อมูล​ประเภท​นี้​จึง​จำ�แนก​ได้​เป็นก​ลุ่ม สามารถ​เรียง​ลำ�ดับ​ได้​มี​ช่วง​ห่าง​ของ​แต่ละ​
มาตร​วัด​เท่าก​ ัน และ​มี 0 แท้​เป็นจ​ ุด​เริ่ม​ต้น​ที่​คงที่​สำ�หรับ​ทุกห​ น่วยก​ ารว​ ัด ดังน​ ั้น จึง​สามารถ​นำ�​ค่าม​ า​เปรียบ​
เทียบ​ในร​ ูป​ของ​อัตราส่วนไ​ด้ มาตร​วัด​ประเภทน​ ี้ ได้แก่ ระยะ​ทาง ความส​ ูง น้ำ�​หนัก เป็นต้น โดย​ใช้​สถิติ​คือ
ค่าเ​ฉลี่ย และส​ ่วน​เบี่ยง​เบน​มาตรฐาน

       สำ�หรับ​การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ที่​เป็น​สถิติ​พรรณนา​เป็นการ​บรรยาย​ลักษณะ​ของ​ข้อมูล การ​วิเคราะห์​
ข้อมูล​จะ​พิจารณา​ได้ 5 วิธี ดังนี้

       1.	 การ​หา​จำ�นวน​ความถี่ ร้อย​ละ สัดส่วน และ​อัตราส่วน ​โดย​ค่า​ร้อย​ละ เป็น​ค่าที่​ใช้​คำ�นวณ​จาก​
การ​เปรียบเ​ทียบ​ตัวเลข 2 จำ�นวน โดย​ใช้​ฐาน​การ​คำ�นวณ​เป็นร​ ้อยละ ค่า​สัดส่วน เป็น​ค่าที่​ใช้​คำ�นวณ​จาก​การ​
เปรียบเ​ทียบต​ ัวเลข 2 จำ�นวน คือจ​ ำ�นวนท​ ี่ต​ ้องการห​ าก​ ับจ​ ำ�นวนท​ ั้งหมด ค่าอ​ ัตราส่วน เป็นค​ ่าที่ใ​ช้ค​ ำ�นวณจ​ าก​
การเ​ปรียบเ​ทียบ​ตัวเลข 2 จำ�นวน คือ​จำ�นวนท​ ี่ 1 กับจ​ ำ�นวน​ที่ 2, 3, 4…, n2

       2. 	 การว​ ัดแ​ นวโ​น้มเ​ข้าส​ ูส่​ ่วนก​ ลางเ​พื่อห​ าค​ ่าทีแ่​ ทนข​ ้อมูลข​ องก​ ลุ่ม สถิตทิ​ ีใ่​ช้ ได้แก่ ค่าเ​ฉลี่ย มัธยฐาน
และ​ฐานนิยม
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28