Page 28 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 28
10-18
เรือ่ งท ่ี 10.2.1 การวัดแ นวโน้มเข้าส ู่สว่ นก ลาง
สาระสงั เขป
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง เป็นการหาค่ากลางของข้อมูลที่ใช้แทนค่าของข้อมูลชุดนั้นๆ โดย
ค่ากลางที่นิยมใช้ในการว ิจัย ได้แก่ มัชฌิมเลขคณิต (arithmetic mean) หรือค่าเฉลี่ย (mean) มัธยฐาน
(median) และฐานนิยม (mode) แต่ละค่าม ีรายละเอียด ดังนี้
1. มัชฌิมเลขคณิตหรือค่าเฉลี่ย หมายถึง ค่ากลางที่ได้จากข้อมูลทุกค่ารวมกันแล้วหารด้วย
จำ�นวนทั้งหมด ซึ่งมีวิธีหาโดยนำ�คะแนนทุกตัวมารวมกันและหารด้วยจำ�นวนทั้งหมด การใช้ค่าเฉลี่ยนี้
เหมาะสำ�หรับข้อมูลท ี่ไม่มีค ่าส ุดโต่ง (extreme value) หรือค่าที่สูงม าก ต่ำ�มาก (outlier value)
k
iΣ=1 fiXi
สูตรท ี่ใช้ค ือ X = N
โดยที่ X = ค่าเฉลี่ย
Xi = คะแนนตัวที่ i
i = 1, 2, 3,..., k
fi = ความถี่ของตัวที่ i
k = จำ�นวนชั้น
N = จำ�นวนทั้งหมด
2. มัธยฐาน หมายถึง ค่ากึ่งกลางที่มีข้อมูลน้อยกว่ามัธยฐานอยู่ 50% และมีข้อมูลมากกว่า
มัธยฐานอ ยู่ 50% การหาค ่าม ัธยฐานต ้องเรียงข ้อมูลจ ากน้อยไปหามากก่อน
สูตรคือ Mdn = Lo + c N2fm—dnF
โดยที่ Mdn = มัธยฐาน
Lo = ขีดจำ�กัดล ่างแ ท้จริงข องช ั้นท ี่มัธยฐานอยู่
c = อันตรภาคชั้น
F = ความถี่ส ะสมข องชั้นก่อนที่มัธยฐานอยู่
fmdn = ความถี่ข องช ั้นที่ม ัธยฐานอยู่