Page 25 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 25
10-15
เรื่องท ่ี 10.1.3 การนำ�เสนอข อ้ มูล
สาระสังเขป
การนำ�เสนอข้อมูลม ีวิธีการนำ�เสนอได้ห ลายว ิธี คือ
1. พรรณนาความ หรือบทความ เป็นการบรรยาย การบอกเล่า การอธิบายความต่างๆ ทั้งที่มี
ตัวเลขห รือไม่มีตัวเลข
2. การนำ�เสนอด้วยตาราง คือ ตารางค วามถี่ซึ่งแ บ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ ตารางท างเดียว ตาราง
สองท าง และตารางห ลายทางหลัก การเขียนต ารางต้องม ีสาระ คือ ตารางท ี่ (เติมห มายเลข) ชื่อเรื่อง (เติมช ื่อ)
ประเภทของเรื่องประกอบด้วย หัวขั้ว ตัวขั้ว ประเภทของเรื่อง ประกอบด้วย หัวเรื่อง ตัวเรื่อง โดยระบุ
หน่วยที่ว ัด และแหล่งที่มาของข้อมูล
3. การนำ�เสนอโดยก ราฟและแ ผนภมู ิ ประกอบด ้วย
• แผนภูมิฮิสโทแกรม (histogram) เหมาะสำ�หรับข้อมูลต่อเนื่อง สร้างเป็นแท่งให้ติดกัน
ตามช่วงคะแนนตามตารางความถี่
• กราฟรูปหลายเหลี่ยมแห่งความถ่ี (frequency polygon) เหมาะสำ�หรับข้อมูลต่อเนื่อง
โดยสร้างแผนภูมิฮิสโทแกรมก่อนแล้วแบ่งที่จุดกึ่งกลางของแท่ง จากนั้นลากเส้นต่อที่จุดกึ่งกลางของแท่ง
ท ุกแท่ง
• กราฟโค้งความถ่ีส ะสม (cumulative frequency) หรือเรียกอีกอย่างห นึ่งว ่า Ogive (อ่านว่า
โอไจ) โดยจ ำ�นวนค วามถี่ได้จ ากค่าค วามถี่ส ะสม เหมาะส ำ�หรับข้อมูลต ่อเนื่อง
• แผนภูมิแท่ง (bar chart) เป็นการนำ�เสนอกราฟแท่ง เหมาะสำ�หรับข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่องซึ่ง
สามารถแยกข้อมูลออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด การนำ�เสนอแบบกราฟแท่งเพื่อแสดงความถี่และร้อยละ
ได้ช ัดเจน
• แผนภาพกง (pie chart) จะนำ�เสนอเป็นวงกลมโดยคิดข้อมูลเป็นสัดส่วนตามค่าร้อยละ
โดยคือจำ�นวนคะแนนทั้งหมดถือเป็น 100% จะมีค่า 360 องศา เหมาะสมสำ�หรับข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่องซึ่ง
สามารถแ ยกข ้อมูลอ อกจากก ันได้อ ย่างเด็ดข าด
(โปรดอ า่ นเนือ้ หาสาระโดยละเอียดในป ระมวลสาระช ดุ วิชาหน่วยท่ี 10 ตอนที่ 10.1 เร่อื งท่ี 10.1.3)
กจิ กรรม 10.1.3
จงเปรียบเทียบก ารนำ�เสนอข้อมูลด้วยวิธีต่างๆ ว่ามีค วามเหมาะสมกับข้อมูลประเภทใด