Page 41 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 41
1-31
(2) ธรรมร าชาเป็นแ นวคิดท างการเมืองก ารป กครองท ีม่ ุง่ เนน้ แ สดงค ณุ ลักษณะแ ละห ลกั ธ รรม
ในก ารป กครองของพระมหาก ษัตริย์มาจ ากห ลักธ รรมค ำ�สั่งสอนของพ ระพุทธเจ้า ส่วนแนวคิดจักรพรรดิราช
มุ่งเน้นก ารท ีพ่ ระม หาก ษตั รยิ ท์ รงป ฏบิ ตั ธิ รรมในร ะดบั ส งู แ ละม ุ่งเน้นก ารแ ผข่ ยายอ ำ�นาจไปย ังอ าณาจกั รเพือ่ น
บ้าน แนวคิดธ รรมร าชาแ ละจ ักรพรรดริ าชถ ูกน ำ�มาใชเ้ป็นเครื่องม ือท างการเมืองน ับต ั้งแตส่ มัยพ ระม หาธ รรม
ราชาล ิไท สมัยส ุโขทัยด ังท ี่ป รากฏ ในไตรภูมิพ ระร่วง สืบเนื่องม าในส มัยอ ยุธยาท ี่พ ระม หาก ษัตริย์ท รงม ุ่งเน้น
การร ักษาศ ีล การท ำ�บุญ เป็นต้น และภ ายห ลังพ ระเจ้าตากสินน ำ�มาใช้เพื่อห ลอมร วมค นไทยในย ามบ ้านเมือง
ล่มส ลาย และในรัชสมัยพ ระบาทสมเด็จพ ระพุทธยอดฟ ้าจ ุฬาโลกเพื่อรวบรวมไพร่พลแ ละจ ัดร ะเบียบส ังคม
ภายหลังการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ และพระมหากษัตริย์พระองค์ต่อมาทรงรับแนวคิดธรรมราชาและ
จักรพรรดิราชอ ย่างต่อเนื่อง
(3) เทวร าชาเปน็ แ นวคดิ ท างการเมอื งก ารป กครองท ใี่ หค้ วามส �ำ คญั ก บั พ ระม หาก ษตั รยิ เ์สมอื น
หนึง่ เป็นเทพเจา้ ข องศ าสนาพ ราหมณห์ รือฮ ินดู ประเทศไทยร บั ม าอ ยา่ งเด่นช ัดจ ากเขมรท ีร่ บั ต อ่ จ ากอ นิ เดยี อ กี
ทอดห นึง่ กอ่ ใหเ้ กดิ ก ารจ ดั ว างโครงสรา้ งส งั คมก ารเมอื ง นบั ต ัง้ แตส่ ถาบนั พ ระม หาก ษตั รยิ เ์ ปน็ ส ถาบนั ท างการ
เมอื งท มี่ อี ำ�นาจส ูงสดุ การส รา้ งพ ระราชวงั ใหม้ คี วามใหญโ่ต การว างข นุ นางต ามร ูปแ บบจ ตสุ ดมภ์ แตเ่นื่องจาก
อาณาเขตของอาณาจักรกว้างใหญ่จึงทรงแต่งตั้งเจ้าขุนมูลนายหรือเจ้านายและขุนนางทำ�หน้าที่ปกครอง
ดนิ แ ดนท ัง้ ห ลาย ทางด ้านเศรษฐกิจ พระม หาก ษัตรยิ ท์ รงค วบคุมป จั จัยก ารผ ลิต อนั ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน โดย
ผ่านก ลไกข องร ัฐ มีพ ระค ลังส ินค้าท ำ�หน้าที่ค ้าขายก ับต ่างป ระเทศ และส ังคม ระบบศ ักดินาเป็นร ะบบท ี่ม ีก าร
กำ�หนดห น้าที่ ขอบข่าย ความร ับผ ิดช อบ สิทธิ แหล่งอ ำ�นาจ และฐ านะข องช นท ุกช ั้นในอ ยุธยา ที่ดิน (ไร่) เป็น
มาตรว ัดท ี่ส ำ�คัญท างเศรษฐกิจ เป็นเครื่องก ำ�หนดอ ำ�นาจห น้าที่ สิทธิ และฐ านะข องค นในส ังคม ทำ�ให้ไพร่จ ัด
เป็นค นส่วนใหญ่ในส ังคมและเป็นแรงงานให้ชนชั้นน ำ�
(4) การก่อตัวของแนวคิดรัฐสมัยใหม่ที่มีตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า-
อยู่หัวนำ�ไปสู่การสถาปนารัฐชาติในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีลักษณะเป็นรัฐ
สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยท์ นี่ �ำ ไปส คู่ วามเปลีย่ นแปลงท ัง้ ท างด า้ นก ารเมอื งก ารป กครองท มี่ กี ารป ฏริ ปู ก ารป กครอง
แผน่ ดนิ นบั แ ตส่ ว่ นก ลางท มี่ กี ารจ ดั ต ัง้ ก ระทรวง ทบวง กรม ใน พ.ศ. 2435 สว่ นภมู ภิ าค ทมี่ กี ารจ ดั ต ัง้ ม ณฑล
เทศาภิบาล ใน พ.ศ. 2437 ส่วนการป กครองส ่วนท ้องถิ่นม ีการจ ัดต ั้งเป็นค รั้งแ รกท ี่ก รุงเทพฯ ใน พ.ศ. 2440
และสุขาภิบาลท ่าฉ ลอมในภ ูมิภาค ใน พ.ศ. 2448 ด้านเศรษฐกิจเป็นความเปลี่ยนแปลงจ ากร ะบบเศรษฐกิจ
แบบยังชีพเป็นระบบเศรษฐกิจแบบการค้า และสังคมที่ยกเลิกระบบไพร่และทาส ทำ�ให้ประเทศไทยก้าวสู่
ความเป็นรัฐสมัยใหม่ แม้เป็นรัฐสมัยใหม่ แต่แนวคิดเรื่องชาติยังคงเป็นกระบวนการที่รัฐดำ�เนินการอย่าง
ต่อเนื่องภ ายห ลังก ารส ิ้นสุดรัชสมัยพ ระบาทสมเด็จพระจ ุลจอมเกล้าเจ้าอ ยู่หัว
3. ผลกระทบของระบอบราชาธิปไตยที่มีต่อการเมืองการปกครองไทย แบ่งออกเป็นสี่รูปแบบ
ผลกระทบที่สำ�คัญของการปกครองแบบพ่อปกครองลูกทำ�ให้พระมหากษัตริย์มีความใกล้ชิดราษฎร แต่
แนวคิดนี้เพียงแนวคิดเดียวไม่สามารถปกป้องและรักษาอาณาจักรได้ ผลกระทบสำ�คัญของการปกครอง
แบบธ รรมร าชาแ ละจ ักรพรรดิร าชท ำ�ใหพ้ ระม หาก ษัตริยท์ รงน ับถือพ ระพุทธศ าสนา ยึดม ันในห ลักธ รรมค ำ�สั่ง
สอน แตก่ ารม ุ่งห วังถ ึงก ารเป็นจ ักรพรรดิร าชท ำ�ใหต้ ้องเผชิญก ับพ ม่าท ีม่ คี วามค ิดเช่นเดียวกัน ผลกร ะท บข อง