Page 38 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 38

1-28

            (1)		แนวคิด​การเมือง​การ​ปกครอง​แบบ​ปิตุ​รา​ชาธิป​ไตย​หรือ​พ่อ​ปกครอง​ลูก (Paternal Gov-
ern- ment หรือ Paternalism) เป็น​แนวคิด​การ​ปกครอง​ที่​พระ​มหา​กษัตริย์​เป็น​เจ้าของ​และ​ผู้​ใช้​อำ�นาจ​
อธิปไตย ถือก​ ำ�เนิดใ​นส​ มัยส​ ุโขทัยภ​ ายห​ ลังจ​ ากท​ ี่ค​ นไ​ทยร​ วบรวมก​ ันจ​ ากช​ ุมชนเ​ป็นแ​ ว่นแ​ คว้นห​ รืออ​ าณาจักร
แนวคิด​การเมือง​การ​ปกครอง​แบบ​พ่อ​ปกครอง​ลูก​จึง​เป็น​ผล​มา​จาก​โครงสร้าง​สังคม​การเมือง​สมัย​สุโขทัย​ที่​
พระ​มหา​กษัตริย์​เปรียบ​เสมือน​บิดา​ที่​ทำ�​หน้าที่​ปกครอง​ราษฎร​ที่​เปรียบ​เสมือน​บุตร​สะท้อน​ถึง​ความ​ใกล้​ชิด​
ระหว่างพ​ ระม​ หา​กษัตริย์​กับร​ าษฎร ลักษณะส​ ำ�คัญข​ องก​ ารป​ กครองส​ ะท้อน​จากแ​ นวคิดท​ ี่​ว่าพ​ ระเจ้าแ​ ผ่น​ดิน​
เป็น​บิดา​ประชาชน บิดา​ปกครอง​ครัว​เรือน มี​ผู้​ปกครอง​ที่​เรียก​ว่า​พ่อ​เมือง หลาย​เมือง​รวม​กัน​เป็น​ประเทศ
อยใู​่ นก​ ารป​ กครองข​ องพ​ อ่ ขนุ ดว้ ยร​ ปู แ​ บบก​ ารป​ กครองเ​ชน่ น​ ี้ สถาบนั พ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ เ​์ ปน็ ส​ ถาบนั ท​ างการเ​มอื ง​
ทีอ่​ ยูส่​ งู สดุ เ​ปน็ ย​ อดพ​ รี ะมดิ ต​ ามล​ กั ษณะโ​ครงสรา้ งท​ างส​ งั คม อำ�นาจข​ องพ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ม์​ าจ​ ากก​ ารเ​ปน็ น​ กั รบ​
จากก​ ารน�ำ ​ไพรพ่ ลไ​ปร​ บด​ ว้ ยพ​ ระองคเ​์ องด​ งั จ​ ะเ​หน็ ไ​ดจ​้ ากบ​ ทบาทใ​นก​ ารเ​ปน็ พ​ อ่ ขนุ ร​ ามค�ำ แหงม​ หาราชแ​ ละพ​ ระ​
มหา​ธรรม​ราชา​ลิ​ไท เป็นแ​ นวคิดท​ ี่เ​หมาะ​สมแ​ ละส​ อดคล้อง​กับ​เมือง แว่น​แคว้น อาณาจักรท​ ี่ม​ ีข​ นาด​เล็ก

            (2) 	การเมือง​การ​ปกครอง​ระบอบ​รา​ชาธิป​ไตย​แบบ​ธรรม​ราชา​และ​จักรพรรดิ​ราช​มี​ที่มา​จาก​
แนวคิดพ​ ระพุทธศ​ าสนาท​ ี่ม​ ีอ​ ิทธิพลต​ ่อป​ ระเทศไทยน​ ับต​ ั้งแต่ส​ มัยส​ ุโขทัย จนก​ ลายเ​ป็นแ​ นวคิดท​ ี่โ​ดดเ​ด่นน​ ับ​
ตัง้ แตส่​ มยั ส​ โุ ขทยั เหตผุ ลส​ �ำ คญั ท​ อี​่ าณาจกั รส​ โุ ขทยั ร​ บั แ​ นวคดิ พ​ ระพทุ ธศ​ าสนาน​ กิ ายห​ นิ ยานแ​ บบเ​ถรวาทล​ ทั ธ​ิ
ลงั กาว​ งศม​์ าเ​พือ่ ค​ วามเ​ปน็ อ​ สิ ระข​ องอ​ าณาจกั รใ​หป​้ ลอดจ​ ากก​ ารค​ รอบง�ำ ​ทางว​ ฒั นธรรมจ​ ากเ​ขมรท​ มี​่ อ​ี �ำ นาจม​ าก​
ใน​สุวรรณภูมิ​นอก​เหนือ​จาก​การ​ประดิษฐ์​อักษร​ไทย และ​ทำ�ให้​แตก​ต่าง​จาก​ความ​เชื่อ​และ​ศาสนา​ที่​มี​อิทธิพล​
ใน​เขมร​ที่​นับถือ​พุทธ​ศาสนา​แบบ​มหายาน​ผสม​ผสาน​กับ​ศาสนา​ฮินดู​หรือ​ศาสนา​พราหมณ์​ที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​
ราชส​ �ำ นกั เ​ขมรใ​นเ​วลาน​ ัน้ ศาสนาพ​ ุทธท​ ปี​่ ระเทศไทยร​ ับจ​ ากศ​ รลี​ งั กาผ​ า่ นน​ ครศรธี รรมราชจ​ งึ น​ บั ว​ ่าม​ ค​ี วามโ​ดด​
เด่น​ที่​ทำ�ให้​แตก​ต่าง​จาก​เขมร​และ​เป็น​ส่วน​สำ�คัญ​ที่​ทำ�ให้​แนวคิด​ธรรม​ราชา​และ​จักรพรรดิ​ราช​เผย​แพร่​สู่​ราช​
ส�ำ นกั ข​ องอ​ าณาจกั รส​ โุ ขทยั จ​ นก​ ลายเ​ปน็ ศ​ าสนาท​ สี​่ �ำ คญั ข​ องป​ ระเทศไทย และแ​ นวคดิ ธ​ รรมร​ าชาแ​ ละจ​ กั รพรรด​ิ
ราชก​ ลายเ​ป็น​แนวคิดท​ ี่​มีอ​ ิทธิพลต​ ่อ​การเมือง​การป​ กครองไ​ทยอ​ ย่างก​ ว้าง​ขวางน​ ับ​ตั้งแต่​นั้นจ​ นถึง​ปัจจุบัน

            (3) 	แนวคิด​เทว​ราชา​เป็น​แนวคิด​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ที่​มี​อิทธิพล​อย่าง​แพร่​หลาย​ต่อ​รัฐ​
แบบ​จารีตใ​น​เอเชีย​ตะวันอ​ อก​เฉียงใ​ต้ เพราะ​เป็น​แนวคิด​ที่​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​พระ​มหา​กษัตริย์​ใน​ฐานะ​ที่​เป็น​
เทพเจ้า​และส​ ่งผ​ ลต​ ่อป​ ระเทศไทย​ทั้งก​ ารจ​ ัดร​ ูปแ​ บบก​ ารเมือง​การป​ กครอง โครงสร้าง​สังคมก​ ารเมือง ที่​สำ�คัญ
คือ ระบบจ​ ตุสดมภ์​ที่​แบ่ง​ออกเ​ป็นเ​วียง วัง คลัง นา อำ�นาจท​ างการเ​มืองก​ าร​ปกครองท​ ี่​อยู่ท​ ี่พ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์
โครงสร้าง​ทาง​เศรษฐกิจ​ที่​พระ​มหา​กษัตริย์​ทรง​เป็น​เจ้าของ​ปัจจัย​การ​ผลิต และ​การ​จัด​ระเบียบ​ทาง​สังคม​ที่​
เป็นการ​กำ�หนด​ตาม​ระบบ​ศักดินา แนวคิด​เทว​ราชา​เป็น​แนวคิด​ที่​มี​ความ​สอดคล้อง​กับ​การ​แผ่​ขยาย​อำ�นาจ​
ของ​อาณาจักร​ให้​เป็น​ไป​อย่าง​กว้าง​ขวาง นอกจาก​จะ​สะท้อน​ถึง​อิทธิพล​ของ​อินเดีย​ที่​มี​ต่อ​ภูมิภาค​แล้ว ยัง​
แสดง​ถึง​การ​รับ​แนวคิด​แบบ​เทว​ราชา​ของ​อาณาจักรภ​ ายใน​ภูมิภาค​รวม​ทั้ง​ประเทศไทย​ที่​รับ​แนวคิด​เทว​ราชา​
จนก​ ่อใ​ห้เ​กิดค​ วามเ​ปลี่ยนแปลงข​ องป​ ระเทศท​ ุกด​ ้านแ​ ละเ​หมาะส​ มส​ อดคล้องก​ ับอ​ าณาจักรด​ ังเ​ช่นอ​ ยุธยาแ​ ละ​
รัตนโกสินทร์ท​ ี่เ​ป็น​อาณาจักร​ที่ม​ ี​ความ​เป็น​ปึกแ​ ผ่นแ​ ละ​มั่นคง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43