Page 40 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 40

1-30

หลงั เ​รยี น

       1. 	 ราช​ าธิปไ​ตย คือ แนวคิด​และ​ระบอบ​การ​ปกครอง​ที่พ​ ระ​มหา​กษัตริย์​ทรง​มี​พระ​ราช​อำ�นาจส​ ูงสุด
ทรง​มี​พระ​ราช​อำ�นาจ​เหนือ​ผู้คน​ใน​แผ่นดิน ทรง​เป็น​องค์​อธิปั​ตย์ เป็น​เจ้า​ชีวิต เป็น​พระเจ้า​แผ่นดิน ทรง​ใช้​
พระ​ราชอ​ ำ�นาจท​ ั้งท​ างด​ ้านน​ ิติบัญญัติ บริหาร และ​ตุลาการ แนวคิดร​ าช​ าธิปไ​ตยส​ ่วนห​ นึ่ง​จึงม​ ี​ความส​ ัมพันธ​์
กับศ​ าสนาแ​ ละค​ วามเ​ชื่อ เจ้าน​ าย พระบรมว​ งศาน​ วุ​ งศ์ ขุนนางแ​ ละข​ ้าราชการ ต่างม​ บี​ ทบาทส​ ำ�คัญใ​นก​ ารร​ องรับ​
พระ​ราช​อำ�นาจ​เพื่อ​ให้เ​กิดผ​ ลใ​น​ทาง​ปฏิบัติ เจ้าน​ าย พระบรมว​ งศา​นุ​วงศ์ ขุนนาง​และ​ข้าราชการ ต่าง​มีบ​ ทบาท​
สำ�คัญ​ใน​การ​รองรับ​พระ​ราช​อำ�นาจ​เพื่อ​ให้​พระ​ราโชบาย​บังเกิด​ผล แนวคิด​รา​ชาธิป​ไตย​ยัง​มี​ความ​เกี่ยวข้อง​
กับเ​ศรษฐกิจแ​ ละ​สังคม กลาย​เป็น​ปัจจัย​การ​ผลิต​ที่​สำ�คัญ​และ​ยัง​สะท้อนถ​ ึงอ​ ำ�นาจท​ ี่เ​ปลี่ยนแปลง​และ​เป็น​ไป​
อย่าง​ไม่ท​ ั่วถ​ ึง และ​ระบบ​อุปถัมภ์​ในส​ ังคม แนวคิด​ราช​ าธิปไ​ตยข​ องร​ ัฐแ​ บบจ​ ารีตก​ ่อใ​ห้เ​กิดส​ ังคมแ​ บบศ​ ักดินา
ส่วน​รัฐ​สมัยใ​หม่​ก่อ​ให้เ​กิด​รัฐแ​ บบส​ มบูรณาญาสิทธิราชย์

       ส่วนร​ ัฐแ​ บ่งอ​ อกเ​ป็นส​ องร​ ูปแ​ บบ คือ รัฐแ​ บบจ​ ารีตแ​ ละร​ ัฐช​ าติ รัฐจ​ ารีตห​ รือร​ ัฐแ​ บบจ​ ารีตค​ ือป​ ระชาคม​
ทางการ​เมือง​รูป​แบบ​หนึ่ง​ที่​ศาสนา​และ​ความ​เชื่อ​มี​อิทธิพล​ต่อ​การ​จัด​รูป​แบบ​โครงสร้าง​สังคม​การเมือง
โหราศาสตร์จ​ ึง​นับ​เป็นเ​ครื่อง​มือ​ที่​สำ�คัญ​สำ�หรับก​ าร​จัด​วาง​สัมพันธภาพ​ใน​เชิง​อำ�นาจ​ของ​อาณาจักร แนวคิด​
เทว​ราชา​จาก​ศาสนา​พราหมณ์​และ​ธรรม​ราชา​จาก​พระพุทธ​ศาสนา​มี​อิทธิพล​ต่อ​อาณาจักร​ใน​ภูมิภาค​เอเชีย​
ตะวันอ​ อกเ​ฉียงใ​ต้ท​ ี่เ​ป็นว​ ัฒนธรรม​แบบฮ​ ินดู-พุทธ มี​การก​ ำ�หนดร​ ูปท​ รงแ​ ละแ​ บบแผน​ทางส​ ถาปัตยกรรม​ของ​
พระราชวงั ด​ ว้ ยค​ วามเ​ชือ่ ท​ วี​่ า่ อ​ าณาจกั รข​ องต​ นเ​ปน็ ภ​ าคห​ นึง่ ข​ องจ​ กั รวาลอ​ นั ศ​ กั ดิส์ ทิ ธิ์ สว่ นร​ ฐั ช​ าตค​ิ อื ป​ ระชาคม​
ทางการ​เมือง​ที่​ประกอบ​ด้วย ดิน​แดน ประชากร อำ�นาจ​อธิปไตย รัฐบาล ที่​ประชาชน​หรือ​ผู้คน​ภายใน​รัฐ​มี​
ความภ​ ักดี​และ​ความ​ผูกพัน​จาก​เชื้อ​ชาติ ประวัติศาสตร์ ความเ​ป็น​มา ขนบธรรมเนียมป​ ระเพณี วัฒนธรรม
วิถี​ชีวิต หรืออ​ ื่น​ใด​ร่วม​กัน รัฐช​ าติ​เป็นป​ ระดิษฐกรรมท​ างการ​เมือง​ของ​สังคมม​ นุษย์ท​ ี่ท​ รง​อำ�นาจ​มาก​ที่สุดใ​น​
บรรดา​การเมือง​ระดับ​ต่างๆ เพราะส​ ามารถ​กำ�หนด ควบคุม ชี้นำ�​กิจกรรม​และ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ของ​สมาชิก​ที่​
อยู่​ภายใน​รัฐ

       2. 	 การเมืองก​ ารป​ กครองร​ ะบอบร​ าช​ าธิปไ​ตยข​ องป​ ระเทศไทย แ​ บ่งอ​ อกเ​ป็นส​ ีร่​ ูปแ​ บบ ประกอบด​ ้วย
ปิตุ​รา​ชาธิปไ​ตยห​ รือบ​ ิดาป​ กครอง​บุตร ธรรม​ราชาแ​ ละ​จักรพรรดิ​ราช เทวร​ าชา และส​ มบูรณาญาสิทธิราชย์

            (1) 	การเมือง​การ​ปกครอง​แบบ​ปิตุ​รา​ชาธิป​ไตย​หรือ​พ่อ​ปกครอง​ลูก ถือ​กำ�เนิด​ใน​สมัย​สุโขทัย
เป็นการป​ กครองท​ ี่พ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์เ​ปรียบเ​สมือนบ​ ิดาท​ ี่ท​ ำ�​หน้าที่ป​ กครองร​ าษฎรท​ ี่เ​ปรียบเ​สมือนบ​ ุตรส​ ะท้อน​
ถึง​ความ​ใกล้​ชิด​ระหว่าง​พระ​มหา​กษัตริย์​กับ​ราษฎร เพราะ​มุ่ง​เน้น​การ​ยึดถือ​สกุล​เป็น​คติ นำ�​ไป​สู่​การ​จัด​วาง​
โครงสรา้ งส​ งั คมก​ ารเมอื ง เศรษฐกิจ และ​สังคม รูปแ​ บบก​ ารป​ กครองแ​ บบพ​ ่อป​ กครองล​ กู เ​อื้ออ​ �ำ นวยป​ ระโยชน​์
ให้​กับ​การ​ประกอบ​อาชีพ​ของ​ประชาชน​ใน​อาณาจักร​สุโขทัย​ที่​เป็น​ไป​อย่าง​เสรี แต่​ด้วย​ข้อ​จำ�กัด​ด้าน​สภาพ​
ภูมิประเทศ สภาพ​พื้นที่ และ​ทำ�เล​ที่​ตั้ง​ของ​อาณาจักร ทำ�ให้​การเกษตร​กรรม​ไม่​ได้​ผล​เท่า​ที่​ควร ด้าน​สังคม​
อาณาจักร​สุโขทัย​แบ่ง​ออก​เป็น​สอง​ชนชั้น คือ ชนชั้น​ปกครอง ประกอบ​ด้วย พระ​มหา​กษัตริย์ เจ้า​นาย​และ​
ขุนนาง และพ​ ระ​สงฆ์ และช​ นชั้นผ​ ู้​ถูก​ปกครอง ประกอบด​ ้วย ไพร่ และท​ าส
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44