Page 35 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 35

1-25

การ​ปกครอง​แบบ​ธรรม​ราชา​และ​จักรพรรดิ​ราช​ทำ�ให้​พระ​มหา​กษัตริย์​ทรง​ยึด​มั่น​พระ​ธรรม​คำ�​สั่ง​สอน​ของ​
พระพุทธเจ้าต​ ามห​ ลัก​ทางพ​ ระพุทธ​ศาสนา แต่ก​ ารม​ ุ่งห​ วังถ​ ึง​การเ​ป็นจ​ ักรพรรดิร​ าชท​ ำ�ให้​ต้องเ​ผชิญ​กับพ​ ม่าท​ ี่​
มีค​ วามค​ ิดเ​ช่นเ​ดียวกัน จนน​ ำ�​ไปส​ ู่ส​ งครามแ​ ละค​ วามพ​ ่ายแ​ พ้จ​ นเ​สียเ​อกราช ผลกร​ ะท​ บข​ องก​ ารป​ กครอง​แบบ​
เทว​ราชา คือ การ​จัด​วาง​โครงสร้าง​อำ�นาจ​ที่​ปรากฏ​ใน​โครงสร้าง​สังคม​การเมือง​ไทย​อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม​โดยที่​
สถาบัน​พระ​มหา​กษัตริย์​เป็น​สถาบัน​ทางการ​เมือง​ที่​ศักดิ์สิทธิ์ สถาบัน​ขุนนาง​ทำ�​หน้าที่​รับ​ใช้​พระ​มหา​กษัตริย์​
เพื่อ​บริหาร​ราชการ​แผ่นดิน ผลก​ระ​ทบ​จาก​การ​ปกครอง​แบบ​สมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือ การ​วาง​โครงสร้าง​
และ​การ​กำ�หนด​สัมพันธภาพ​เชิง​อำ�นาจ​ของ​รัฐ​สมัย​ใหม่​ให้ค​ รอบคลุม​ทั้ง​ประเทศ การ​ปลด​ปล่อย​ไพร่​เพื่อ​เป็น​
สามัญช​ นแ​ ต่ข​ าดก​ ารฝ​ ึกฝนเ​รียนร​ ู้เ​พื่อป​ ระกอบก​ ารท​ างพ​ ณิชย​ กรร​ ม การแ​ ยกท​ รัพย์สินข​ องแ​ ผ่นด​ ินอ​ อกจ​ าก​
ทรพั ยส์ นิ ส​ ว่ นพ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ์ และจ​ ดั ต​ ัง้ ก​ รมพ​ ระค​ ลงั ข​ า้ งท​ เี​่ พือ่ แ​ สวงหาผ​ ลป​ ระโยชนท​์ างเ​ศรษฐกจิ การเ​ตบิ โต​
ของค​ นจ​ ีนแ​ ละค​ นไ​ทยเ​ชื้อส​ ายจ​ ีนใ​นท​ างเ​ศรษฐกิจ การข​ าดก​ ารเตร​ ีย​ มค​ วามพ​ ร้อมใ​หก้​ ับป​ ระชาชนเ​พื่อร​ องรับ​
ความ​เปลี่ยนแปลงห​ รือก​ าร​เปลี่ยน​ผ่าน​ของร​ ะบอบก​ าร​ปกครอง

แนว​ตอบ​กิจกรรม 1.3.2
       มรดกข​ อง​ระบอบ​รา​ชาธิปไ​ตย​ที่ม​ ีต​ ่อ​การเมือง​การป​ กครอง​ไทย​ที่​สำ�คัญ แบ่ง​ออก​เป็น​สี่ร​ ูป​แบบ การ​

ปกครอง​แบบ​พ่อ​ปกครอง​ลูกใ​ห้​มรดกท​ ี่ส​ ำ�คัญ คือ การ​เสด็จเ​ยี่ยมเยียนร​ าษฎร​ของพ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์ซ​ ึ่งน​ ำ�​ไป​
สู่​พระ​ราช​กรณียกิจ​นานัปการ การ​ใช้​พระ​ราช​อำ�นาจ​ผ่าน​สถาบัน​ตุลาการ การ​ปกครอง​แบบ​ธรรม​ราชา​และ​
จักรพรรดิร​ าชใ​ห้ม​ รดกท​ ี่ส​ ำ�คัญ คือ การท​ ี่ท​ รงย​ ึดห​ ลักธ​ รรม การอ​ ุปถัมภ์ค​ ้ำ�จุนพ​ ระพุทธศ​ าสนาน​ อกเ​หนือจ​ าก​
การ​ที่​ทรง​เป็น​เอกอ​ ัคร​ศาสนูปถัมภก การป​ กครองแ​ บบเ​ทว​ราชา​ให้​มรดก​ที่​สำ�คัญ คือ การจ​ ัด​วาง​โครงสร้าง​
อำ�นาจ​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​แนว​จารีต​ที่​ส่วน​หนึ่ง​สืบทอด​ถึง​ปัจจุบัน การ​เปิด​โอกาส​ให้​คน​จีนแส​วง​หา​
ผล​ประโยชน์​ทาง​เศรษฐกิจ​จน​กลาย​เป็นก​ลุ่ม​ทุน​ที่​มี​บทบาท​สำ�คัญ​ภาย​หลัง​การ​เปลี่ยนแปลง​การ​ปกครอง
การ​ปราก​ฏภาพ​ของ​ความ​สัมพันธ์​เชิง​อุปถัมภ์​ระหว่าง​ผู้​อุป​ถัมภ์​กับ​ผู้​ถูก​อุปถัมภ์​ใน​เกือบ​ทุก​ระดับ และ​การ​
เกิด​ความ​คิด​แบบ​วัฒนธรรม​ราษฎร์ การ​ปกครอง​แบบ​สมบูรณาญาสิทธิราชย์​ให้​มรดก​ที่​สำ�คัญ คือ การ​
จัด​วาง​โครงสร้าง​สัมพันธภาพ​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​สมัย​ใหม่ การ​ถือ​กำ�เนิด​แนวคิด​และ​ประวัติศาสตร์​
ราชาช​ าตินิยม การร​ องรับป​ ัญหาท​ ุกร​ ูปแ​ บบข​ องผ​ ู้ป​ กครองส​ มัยใ​หม่ การเ​ผชิญก​ ับก​ ารแ​ ทรกแซงก​ ารเมืองข​ อง​
ระบบ​ราชการ การเ​ติบโตข​ อง​กลุ่ม​ทุน​ของค​ น​จีน​หรือ​คน​ไทย​เชื้อส​ าย​จีน​จน​นำ�​มา​สู่​การม​ ี​อำ�นาจ​ทางการเ​มือง
การจ​ ำ�กัด​การ​แพร่ข​ ยาย​แนว​การศ​ ึกษาส​ มัย​ใหม่ และก​ าร​ถือก​ ำ�เนิดข​ องป​ ัญญา​ชน​และช​ นชั้นก​ ลาง
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40