Page 30 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 30
1-20
เร่อื งที่ 1.3.2 มรดกของร ะบอบราชาธปิ ไตยที่มตี อ่ การเมือง
การป กครองไทย
สาระสงั เขป
มรดกข องระบอบร าชาธิปไตยท ี่ม ีต ่อก ารเมืองก ารป กครองไทยที่สำ�คัญ แบ่งออกเป็นสี่รูปแ บบ การ
ปกครองแบบพ ่อป กครองลูกให้มรดกท ี่ส ำ�คัญ คือ การเสด็จเยี่ยมเยียนราษฎรข องพระมหาก ษัตริย์ซ ึ่งนำ�ไป
สู่พระราชกรณียกิจนานัปการ การใช้พระราชอำ�นาจผ่านสถาบันตุลาการ การปกครองแบบธรรมราชาและ
จักรพรรดิร าชให้มรดกที่สำ�คัญ คือ การท ี่ทรงยึดหลักธรรม การอุปถัมภ์ค ้ำ�จุนพระพุทธศาสนา นอกเหนือ
จากก ารท ีท่ รงเป็นเอกอ คั รศ าสนูปถมั ภก การป กครองแ บบเทวร าชาใหม้ รดกท ีส่ ำ�คัญ คอื การจ ดั ว างโครงสรา้ ง
อำ�นาจท างการเมืองก ารป กครองแ นวจ ารีตท ีส่ ่วนห นึ่งส ืบทอดถ ึงป ัจจุบัน ความล ่าช้าแ ละข าดค วามส ามารถใน
การปรับตัวของประชาชนที่เคยเป็นไพร่ในระบบศักดินาให้รองรับการเปลี่ยนแปลงในระบบเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยม การเปิดโอกาสให้คนจีนแสวงหาผลประโยชน์ท างเศรษฐกิจจนกลายเป็นกล ุ่มทุนที่มีบทบาทสำ�คัญ
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง การปรากฏภาพของความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์กับ
ผู้ถูกอุปถัมภ์ในเกือบทุกระดับ และการเกิดความคิดแบบวัฒนธรรมราษฎร์ที่ต่อต้าน ปฏิเสธ ไม่ยอมรับ
วิพากษ์วิจารณ์หรืออื่นใดกับรัฐหรือผู้ปกครองหรือสังคมที่คู่ขนานไปกับความคิดที่ยอมรับอำ�นาจรัฐหรือ
ผู้ปกครองหรือสังคม การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ให้มรดกที่สำ�คัญ คือ การจัดวางโครงสร้าง
สัมพันธภาพท างการเมืองการป กครองส มัยใหม่ การถ ือกำ�เนิดแ นวคิดแ ละประวัติศาสตร์ร าชาชาตินิยม การ
รองรับป ัญหาท ุกร ูปแบบของผ ู้ป กครองส มัยใหม่ การเผชิญก ับการแ ทรกแซงก ารเมืองข องระบบร าชการ การ
เติบโตของกลุ่มทุนข องคนจีนห รือค นไทยเชื้อส ายจ ีนจ นน ำ�มาสู่การมีอำ�นาจท างการเมือง การจำ�กัดการแพร่
ขยายแ นวการศึกษาสมัยใหม่ และก ารถ ือกำ�เนิดข องป ัญญาชนแ ละชนชั้นก ลาง
(โปรดอ ่านเนอื้ หาส าระโดยล ะเอียดในประมวลส าระชดุ ว ชิ าหน่วยท ่ี 1 ตอนท ่ี 1.3 เร่ืองที่ 1.3.2)
กจิ กรรม 1.3.2
จงอ ธิบายม รดกข องร ะบอบร าชาธิปไตยท ี่มีต ่อก ารเมืองก ารปกครองไทย