Page 32 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 32
1-22
แนวต อบก ิจกรรมหน่วยท่ี 1
แนวคดิ แ ละว วิ ฒั นาการท างการเมอื งก ารป กครองไ ทย: ประชาธปิ ไตย
ตอนท ่ี 1.1 แนวคดิ ราชาธิปไตยกบั บ ริบททางการเมอื งการป กครอง
แนวตอบก ิจกรรม 1.1.1
ราชาธิปไตย คือ แนวคิดและระบอบการปกครองที่พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำ�นาจสูงสุด
ทรงมีพระราชอำ�นาจเหนือผู้คนในแผ่นดิน ทรงเป็นองค์อธิปัตย์ เป็นเจ้าชีวิต เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ทรงใช้
พระราชอำ�นาจท ั้งทางด ้านน ิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ แนวคิดราชาธิปไตยส ่วนห นึ่งจึงม ีค วามสัมพันธ์
กับศ าสนาแ ละค วามเชื่อ เจ้าน าย พระบรมว งศาน วุ งศ์ ขุนนางแ ละข ้าราชการ ต่างม บี ทบาทส ำ�คัญในก ารร องรับ
พระร าชอำ�นาจเพื่อให้เกิดผ ลในทางป ฏิบัติ เจ้าน าย พระบรมว งศาน ุว งศ์ ขุนนางและข ้าราชการ ต่างมีบทบาท
สำ�คัญในการรองรับพระราชอำ�นาจเพ่ือให้พระราโชบายบังเกิดผล การมีพระราชอำ�นาจสูงสุดของพระมหา
กษัตริย์เช่นนี้นำ�ไปสู่การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) ในท ี่สุด ซึ่งตรง
กันข ้ามก ับร ะบอบประชาธิปไตย (Democracy) ที่แมส้ ถาบันพระม หาก ษัตริย์ดำ�รงอ ยู่ แต่เป็นส ถาบันท างการ
เมืองท ี่เป็นส ัญลักษณ์ พระม หาก ษัตริย์ท รงด ำ�รงต ำ�แหน่งเป็นป ระมุขข องร ัฐ ไม่ท รงม ีพระร าชอ ำ�นาจโดยตรง
การใช้พระราชอำ�นาจข องพระม หาก ษัตริย์ต ้องผ่านส ถาบันนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา สถาบันบ ริหาร คือ รัฐบาล
หรือค ณะรัฐมนตรี และสถาบันตุลาการ คือ ศาล หรือสถาบันท างการเมืองอื่น
แนวต อบกจิ กรรม 1.1.2
การเปลี่ยนแปลงท างส ังคมส ่งผ ลต ่อก ารถ ือก ำ�เนิดข องร ัฐจ ารีตน ับต ั้งแตอ่ ดีตจ นถึงค ริสตศ์ ตวรรษที่
17 และก่อตัวเป็นรัฐชาติหรือรัฐประชาชาตินับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐจารีตหรือรัฐแบบจารีตคือ
ประชาคมทางการเมืองรูปแบบหนึ่งที่ศาสนาและความเชื่อมีอิทธิพลต่อการจัดรูปแบบโครงสร้างสังคม
การเมือง อินเดียและจีนนับเป็นแหล่งกำ�เนิดของรัฐจารีตในโลกตะวันออกจากการเป็นแหล่งอารยธรรมที่
สำ�คัญข องโลกส ู่ภูมิภาคเอเชียตะวันอ อกแ ละเอเชียตะวันอ อกเฉียงใต้ ทำ�ให้เกิดก ารป รับเปลี่ยนศาสนาแ ละ
ความเชื่อท ี่มาจ ากแ หล่งก ำ�เนิดเหล่าน ี้ให้ส อดคล้องก ับบ ริบทแ ละส ภาพแ วดล้อมข องช ุมชนท ้องถ ิ่นแ ต่ละแ ห่ง
ส่วนร ัฐชาติคือประชาคมท างการเมืองท ี่ป ระกอบด้วย ดินแ ดน ประชากร อำ�นาจอธิปไตย รัฐบาล ที่ป ระชาชน
หรือผู้คนภายในรัฐมีความภักดีและความผูกพันจากเชื้อชาติ หรืออื่นใดร่วมกัน รัฐชาติเป็นประดิษฐกรรม
ของสังคมมนุษย์ในยุโรปนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 และกลายเป็นแนวคิดกระแสหลักที่อิงฐานคิดแบบ
ญาณวิทยาที่ยึดถือเอารัฐชาติเป็นศูนย์กลาง ทำ�ให้เกิดแนวคิดรัฐ ชาติ และสังคม กลายเป็นสิ่งเดียวกัน