Page 33 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 33

1-23

รัฐ​กลาย​เป็น​สิ่ง​ที่​เป็น​อิสระ มี​มา​โดย​ธรรมชาติ​และ​เป็น​ธรรมชาติ แนวคิด​นี้​มี​อิทธิพล​ต่อ​การ​สร้าง​รัฐ​ชาติ​
ภายหลัง ซึ่ง​เป็นการเ​น้นถ​ ึง​อำ�นาจ​อธิปไตยเ​หนือ​ดิน​แดน ความเ​ป็นช​ าติ ความเ​ป็นพ​ ลเมือง วัฒนธรรม​และ​
สังคมไ​ว้​ภายใน​พื้นที่​ทางภ​ ูมิศาสตร์​ของร​ ัฐ

ตอน​ที่ 1.2 การ​วิเคราะห​ก์ ารเมอื งก​ าร​ปกครองไ​ ทย​ระบอบร​ าช​ าธปิ ไ​ ตย

แนว​ตอบ​กิจกรรม 1.2.1
       การเมือง​การ​ปกครอง​แบบ​ปิตุ​รา​ชาธิป​ไตย​หรือ​พ่อ​ปกครอง​ลูก​ถือ​กำ�เนิด​ใน​สมัย​สุโขทัย สาเหตุ​ที่​

ทำ�ให้​อาณาจักร​สุโขทัย​มี​การ​ปกครอง​ระบอบ​รา​ชาธิป​ไตย​แบบ​ปิตุ​ราชา​เนื่อง​มา​จาก​การ​เป็น​อาณาจักร​ที่​มี​
ขนาดเ​ล็ก และ​พัฒนา​มาจ​ าก​ชุมชนจ​ น​กลาย​เป็นเ​มือง แว่น​แคว้น หรืออ​ าณาจักร สาระ​สำ�คัญข​ อง​แนวคิด​การ​
ปกครอง​แบบ​พ่อป​ กครองล​ ูก คือ การย​ ึดถือห​ รือใ​ห้​ความ​สำ�คัญ​กับ​ครอบครัวแ​ ละเ​ครือ​ญาติ เป็นการจ​ ัด​วาง​
ความ​สัมพันธ์​ใน​ระบบ​ครอบครัว​และ​เครือ​ญาติ​ท่ี​มี​ทั้ง​ญาติ​ทาง​สังคม​และ​เครือ​ญาติ​ทางการ​เมือง พระ​มหา​-
กษตั รยิ ​์ กบั ป​ ระชาชนม​ ค​ี วามส​ มั พนั ธท​์ ใี​่ กลช​้ ดิ ความส​ มั พนั ธแ​์ บบพ​ อ่ ป​ กครองล​ กู ย​ งั ส​ ะทอ้ นจ​ ากก​ ารจ​ ดั ร​ ปู แ​ บบ​
การป​ กครองท​ ี่​แบ่งก​ ารป​ กครองอ​ อกเ​ป็น​เมืองล​ ูกหลวงห​ รือห​ ัวเ​มือง​ชั้น​ใน เมือง​พระยาม​ หานคร​หรือ​หัว​เมือง​
ชั้น​นอก และ​เมือง​ออก​หรือ​เมือง​ขึ้น การ​ปกครอง​เมือง​ลูกหลวง​หรือ​หัว​เมือง​ชั้น​ใน​เป็นการ​กระจาย​อำ�นาจ​
อย่างม​ าก เมือง​ทั้ง​หลายม​ ี​ความเ​ป็นอ​ ิสระ มีอ​ ำ�นาจใ​นก​ ารบ​ ริหารจ​ ัดการ​ภายใน ทั้งก​ ารเ​ก็บภ​ าษี การพ​ ิจารณา​
อรรถ​คดี เอื้อ​อำ�นวย​ประโยชน์​ให้​กับ​การ​ประกอบ​อาชีพ​ของ​ประชาชน​ใน​อาณาจักร​สุโขทัย​ที่​เป็น​ไป​อย่าง​เสรี
อาณาจักร​สุโขทัย​แบ่ง​ออก​เป็น​สอง​ชนชั้น คือ ชนชั้น​ปกครอง ประกอบ​ด้วย พระ​มหา​กษัตริย์ เจ้า​นาย​และ​
ขุนนาง และพ​ ระ​สงฆ์ และ​ชนชั้นผ​ ู้ถ​ ูก​ปกครอง ประกอบด​ ้วย ไพร่ และท​ าส

แนวต​ อบก​ จิ กรรม 1.2.2
       แนวคิด​ธรรม​ราชา​เป็น​แนวคิดท​ างการ​เมือง​การ​ปกครอง​ที่​มุ่ง​เน้น​แสดง​คุณลักษณะ​และ​หลัก​ธรรม​

ใน​การ​ปกครอง​ของ​พระ​มหา​กษัตริย์​มา​จาก​หลัก​ธรรม​คำ�​สั่ง​สอน​ของ​พระพุทธเจ้า​ของ​พระพุทธ​ศาสนา​เป็น​
หลัก​ปฏิบัติ นำ�​มา​ใช้​กับ​พระ​มหา​กษัตริย์​ซึ่ง​มี​ความ​หมาย​ถึง​กษัตริย์​หรือ​ราชา​ที่​ทำ�ให้​คน​ทั้ง​หลาย​ยินดี​ด้วย​
เหตุท​ ี่ถ​ ึงพ​ ร้อมด​ ้วย​ทศพ​ ิธ​ รา​ชธ​ รรม มีร​ ากฐานม​ า​จาก​คติ​ความเ​ชื่อแ​ บบจ​ ักรวาลว​ ิทยา ความแ​ ตกต​ ่าง​ระหว่าง​
คติ​จักรพรรดิ​ราช​และ​ธรรม​ราชา คือ คติ​จักรพรรดิ​ราช เชื่อ​ว่า พระ​จักรพรรดิ​ทรง​ครอบ​ครอง​แก้ว​เจ็ด​
ประการ ได้แก่ จักร​แก้ว ช้าง​แก้ว ม้าแ​ ก้ว แก้วม​ ณีโ​ชติ นางแ​ ก้ว ขุนค​ ลัง​แก้ว และข​ ุนพลแ​ ก้ว ที่​ล้วน​แล้วท​ ำ�ให​้
พระ​จักรพรรดิ​ทรง​ขยาย​พระ​ราช​อำ�นาจ​ออก​ไป​ทั้ง​สี่​ทิศ​ทำ�ให้​ราชา​อื่น​ใน​โลก​ยอม​อ่อนน้อม​และ​ถวาย​เครื่อง​
ราชบ​ รรณาการ แนวคิดธ​ รรมร​ าชา​ถือก​ ำ�เนิด​ในส​ มัยพ​ ระม​ หาธ​ รรมร​ าชา​ลิ​ไท​แห่งส​ ุโขทัย หลังจ​ ากน​ ั้น​แนวคิด
ธ​ รรมร​ าชาแ​ ละจ​ กั พ​ ร​รดร​ิ าช​ยงั ค​ ง​ม​คี วามส​ �ำ คญั ต​ อ่ ​พระ​มหาก​ ษตั รยิ ​์สมยั อ​ ยธุ ยา ธนบรุ ี และ​รตั นโกสนิ ทร์ อยา่ ง​
ต่อเนื่อง และ​กลาย​เป็น​เครื่อง​มือ​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ที่​สำ�คัญ เช่น สมัย​พระเจ้าตากสิน​ที่​ใช้​พระพุทธ​
ศาสนาเ​ปน็ เ​ครือ่ งม​ อื ใ​นก​ ารห​ ลอมร​ วมผ​ ูค้ นภ​ ายห​ ลงั ก​ รงุ แ​ ตก การส​ ถาปนาก​ รงุ ร​ ตั นโกสนิ ทรใ​์ นร​ ชั ส​ มยั พ​ ระบาท​
สมเด็จพ​ ระพุทธ​ยอด​ฟ้าจ​ ุฬา​โลกม​ หาราช รัชกาล​ที่ 1 เป็นต้น
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38