Page 34 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 1
P. 34

1-24

แนวต​ อบ​กิจกรรม 1.2.3
       แนวคิด​เทว​ราชา​เป็น​แนวคิด​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ที่​มี​อิทธิพล​อย่าง​แพร่​หลาย​ต่อ​รัฐ​แบบ​จารีต​

ในเ​อเชียต​ ะวันอ​ อกเ​ฉียงใ​ต้ เพราะเ​ป็นแ​ นวคิดท​ ี่ใ​ห้ค​ วามส​ ำ�คัญก​ ับพ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์ใ​นฐ​ านะท​ ี่เ​ป็นเ​ทพเจ้าแ​ ละ​
ส่ง​ผล​ต่อ​การ​จัด​รูป​แบบ​การเมือง​การ​ปกครอง โครงสร้าง​สังคม​การเมือง อำ�นาจ​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง
โครงสร้าง​ทาง​เศรษฐกิจ และ​การ​จัด​ระเบียบ​ทาง​สังคม แนวคิด​เทว​ราชา​เป็น​แนวคิด​ที่​มี​ความ​สอดคล้อง​กับ​
การ​แผ่ข​ ยาย​อำ�นาจ​ของอ​ าณาจักรใ​ห้​เป็นไ​ป​อย่างก​ ว้างข​ วาง นอกจาก​จะ​สะท้อนถ​ ึง​อิทธิพลข​ องอ​ ินเดียท​ ี่ม​ ีต​ ่อ​
ภูมิภาค​แล้ว ยังแ​ สดง​ถึงก​ ารร​ ับ​แนวคิด​แบบเ​ทว​ราชา​ของ​อาณาจักร​ภายใน​ภูมิภาค รวม​ทั้ง​ประเทศไทย​ที่ร​ ับ​
แนวคิดเ​ทวร​ าชาจ​ นก​ ่อใ​หเ้​กิดค​ วามเ​ปลี่ยนแปลงข​ องป​ ระเทศท​ ุกด​ ้าน ด้านก​ ารเมือง ทำ�ใหพ้​ ระม​ หาก​ ษัตริยท์​ รง​
เป็น​สมมติเ​ทพ การ​สร้างท​ ี่ป​ ระทับ​หรือว​ ังม​ ีค​ วาม​ยิ่งใ​หญ่ การ​จัด​รูป​แบบ​การ​ปกครอง​เป็น​จตุสดมภ์ ทางด​ ้าน​
เศรษฐกิจ พระ​มหา​กษัตริย์​ทรง​ควบคุม​ปัจจัย​การ​ผลิต เป็น​เจ้าของ​ปัจจัย​การ​ผลิต​ทั้งหมด โดย​เฉพาะ​ที่ดิน
และส​ ังคม เกิดร​ ะบบศ​ ักดินาท​ ี่ม​ ีก​ ารจ​ ัดแ​ บ่งเ​ป็นล​ ำ�ดับช​ ่วงช​ ั้นข​ องป​ ระชาชนใ​นส​ ังคมท​ ีแ่​ บ่งอ​ อกเ​ป็นผ​ ูป้​ กครอง​
กับผ​ ู้ถ​ ูกป​ กครอง มี​ที่ดินเ​ป็น​เครื่อง​กำ�หนด​อำ�นาจ​หน้าที่ สิทธิ และ​ฐานะ​ของค​ นในส​ ังคม

แนวต​ อบก​ จิ กรรม 1.2.4
       การ​ก่อ​ตัว​ของแ​ นวคิด​รัฐ​สมัย​ใหม่ถ​ ือก​ ำ�เนิด​นับ​ตั้งแต่​รับส​ มัยพ​ ระบาท​สมเด็จ​พระน​ ั่งเ​กล้าเ​จ้าอ​ ยู่​หัว

รัชกาล​ที่ 3 และ​ต่อเ​นื่อง​ถึง​พระบาท​สมเด็จ​พระจอมเกล้าเ​จ้า​อยู่​หัว รัชกาล​ที่ 4 มรดกท​ าง​ความค​ ิดข​ องร​ ัชกาล​
ที่ 4 นำ�​ไปส​ ู่ก​ าร​สถาปนาร​ ัฐ​ชาติ​ในร​ ัช​สมัย​พระบาทส​ มเด็จพ​ ระจ​ ุลจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว รัชกาล​ที่ 5 ที่​มีล​ ักษณะ​
เป็น​รัฐ​สมบูรณาญาสิทธิราชย์​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ทาง​ด้าน​การเมือง​การ​ปกครอง​ที่​มี​การ​ปฏิรูป​
การ​ปกครองแ​ ผ่น​ดินใ​น​ส่วนก​ ลาง​ที่​มี​การ​ยกเลิก​ระบบ​จตุสดมภ์ และจ​ ัด​ตั้ง​กระทรวง ทบวง กรม​แทน ส่วน​
ภูมิภาค​มี​การ​ยกเลิก​การ​ปกครอง​หัว​เมือง​ชั้น​ใน หัว​เมือง​ชั้น​นอก และ​หัว​เมือง​ประเทศราช เป็นการ​จัด​ตั้ง​
มณฑลเ​ทศาภิบาล​แทน ส่วน​การป​ กครอง​ส่วนท​ ้องถ​ ิ่นม​ ีก​ าร​จัดต​ ั้งเ​ป็นค​ รั้งแ​ รกท​ ี่ก​ รุงเทพฯ ใน​เมืองห​ ลวง และ​
สุขาภิบาลท​ ่า​ฉลอม​ในภ​ ูมิภาค ด้าน​เศรษฐกิจ ทรงน​ ำ�​ความเ​ปลี่ยนแปลง​ด้านก​ ารค​ มนาคม โทรคมนาคม การ​
ประปา ไฟฟ้า โทรเลข รถไฟ เป็นต้น นับเ​ป็นการส​ ร้าง​ความ​เปลี่ยนแปลง​จาก​ระบบเ​ศรษฐกิจ​แบบ​ยังชีพเ​ป็น​
ระบบ​เศรษฐกิจ​แบบก​ ารค​ ้าใ​ห้เ​กิดข​ ึ้นอ​ ย่าง​กว้าง​ขวาง และ​ด้านส​ ังคม มี​การ​ยกเลิก​ระบบ​ไพร่แ​ ละท​ าส ทำ�ให​้
ประเทศไทย​ก้าวส​ ู่​ความเ​ป็นร​ ัฐ​สมัยใ​หม่ แม้เ​ป็นร​ ัฐ​สมัยใ​หม่ แต่แ​ นวคิด​เรื่อง​ชาติย​ ัง​คง​เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่ร​ ัฐ​
ดำ�เนิน​การอ​ ย่าง​ต่อ​เนื่องใ​นร​ ัช​สมัยพ​ ระบาทส​ มเด็จพ​ ระมงกุฎเกล้า​เจ้า​อยู่ห​ ัว รัชกาลท​ ี่ 6

ตอน​ที่ 1.3 ผลก​ระท​ บ​และม​ รดกข​ องร​ ะบอบร​ าช​ าธปิ ​ไตย​ที่ม​ ี​ตอ่ ​การเมืองก​ ารป​ กครองไ​ ทย

แนวต​ อบ​กจิ กรรม 1.3.1
       ผลกร​ ะท​ บข​ องร​ ะบอบร​ าช​ าธปิ ไ​ตยท​ มี​่ ต​ี อ่ ก​ ารเมอื งก​ ารป​ กครองไ​ทย แบง่ อ​ อกเ​ปน็ ส​ รี​่ ปู แ​ บบ ผลกร​ ะทบ

​ที่​สำ�คัญ​ของ​การ​ปกครอง​แบบ​พ่อ​ปกครอง​ลูก​ทำ�ให้​พระ​มหา​กษัตริย์​มี​ความ​ใกล้​ชิด​ราษฎร แต่​แนวคิด​นี้​
เพียง​แนวคิด​เดียว​ไม่​สามารถ​ทำ�ให้​พระ​มหา​กษัตริย์​ปกป้อง​และ​รักษา​อาณาจักร​ได้ ผลก​ระ​ทบ​สำ�คัญ​ของ​
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39