Page 160 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 160
2-150 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โดยกระบวนการหมัก เพื่อการผลิตยาปฏิชีวนะเพื่อประโยชน์ต่อการรักษาโรคที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย ซึ่งต ่อม าม กี ารค ้นพ บย าป ฏิชีวนะอ ีกเป็นจ �ำ นวนม ากท ีส่ ามารถผ ลิตข ึ้นไดจ้ ากก ระบวนการห มักเพื่อ
เลี้ยงจุลชีพที่เป็นต้นกำ�เนิดของยาปฏิชีวนะนั้นๆ ต่อมายังพบว่า จุลินทรีย์บางชนิดยังสามารถเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างท างเคมีข องย าป ฏิชีวนะ โดยอ าศัยเอนไซม์บ างช นิดท ี่อ ยู่ภ ายในเซลล์ ทำ�ให้ได้ย าป ฏิชีวนะช นิดใหม่
ที่ม ีประสิทธิภาพสูงขึ้น
เทคโนโลยีชีวภาพมีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิตวัคซีนสำ�หรับใช้ป้องกันโรคติดต่อหลายชนิด ทั้งใน
คนและในสัตว์ ด้วยเทคโนโลยีของการสร้าง DNA ลูกผสม ทำ�ให้สามารถผลิตแอนติเจนจำ�เพาะที่ไม่เป็น
อันตรายต่อคนแ ละสัตว์ เมื่อฉีดเข้าในร่างกายจ ะเป็นการก ระตุ้นร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่เกิดในคน เช่น
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ อหิวาห์ตกโรค โรคไวรัสตับอักเสบชนิดบี บาดทะยัก ไอกรน โรคคอตีบ เป็นต้น
สำ�หรับวัคซีนที่ใช้ป้องกันโรคในสัตว์ ได้แก่ โรคปากเปื่อยเท้าเปื่อย โรคไข้หวัดนก เป็นต้น นอกจากนี้ใน
ปัจจุบันเทคโนโลยีชีวภาพยังมีส่วนช่วยในการปรับปรุงคุณภาพของวัคซีนให้มีประสิทธิภาพในการกระตุ้น
การสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น ลดผลข้างเคียงที่เกิดจากการฉีดวัคซีน ตัวอย่างที่มีการพัฒนาอย่างชัดเจน คือ
วัคซีนป้องกันโรคพ ิษส ุนัขบ ้า
3.2 การป ระยกุ ตใ์นด า้ นก ารเกษตร มนุษย์ร ู้จักใช้เทคโนโลยีช ีวภาพม าเป็นเวลาน านด ้วยก ารเรียนร ู้
จากธ รรมชาติ โดยเฉพาะในการผ ลิตอ าหาร การแปรรูปอ าหาร ตัวอย่างเช่น การผลิตเนยแ ข็งจ ากนํ้านม การ
ผลิตซีอิ๊วจากถั่วเหลือง การผลิตนํ้าส้มสายชูโดยกระบวนการหมักเป็นต้น จุดประสงค์แรกเริ่มของการใช้
เทคโนโลยีในระดับภูมิปัญญาช าวบ้านน ี้ ก็เพื่อประโยชน์ในก ารถ นอมอ าหารท ี่เป็นผ ลิตผลทางการเกษตรให้
สามารถเก็บไว้บริโภคได้เป็นเวลานาน ในการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม
ได้แก่ กระบวนการห มักเพื่อก ารผ ลิตไวนจ์ ากอ งุ่นห รือพ ืชผ ลช นิดอ ื่น แตต่ ่อม าม กี ารพ ัฒนาเทคโนโลยชี ีวภาพ
ที่ก้าวหน้าขึ้นจ นส ามารถส ร้างม ูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ได้
ในก ารผ ลติ จ ลุ นิ ทรยี ใ์ นป รมิ าณท มี่ นี ยั ท างเศรษฐกจิ ตวั อยา่ ง เชน่ จลุ นิ ทรยี ์ Rhizobium ทชี่ ว่ ยในก าร
ตรึงไนโตรเจนให้ก ับพืช เมื่อน ำ�มาใช้จะมีผ ลให้ป ริมาณและคุณภาพข องพ ืชผ ลที่ผ ลิตส ูงขึ้น การผลิตโปรตีน
ในเซลล์เดียว (single cell protein) เพื่อใช้เป็นอ าหาร ซึ่งเป็นการเลี้ยงจ ุลชีพเซลล์เดียวที่มีการส ังเคราะห์
โปรตีนในป ริมาณมาก เป็นต้น
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (plant tissue culture) และพันธุวิศวกรรม
สามารถน ำ�ม าใช้ป ระโยชน์ในก ารผ ลิตต้นก ล้าข องพ ืชที่ม ีล ักษณะพิเศษเพิ่มเติมขึ้น เช่น ลักษณะท นแล้ง ทน
ต่อศัตรูพืชได้ดี มีผ ลผลิตส ูง คุณภาพของผ ลผลิตจ ากพ ืชส ูง เป็นต้น
เทคโนโลยีท างพันธุวิศวกรรมห รือชีววิทยาระดับโมเลกุลในปัจจุบัน สามารถช่วยท ำ�การป ฏิสนธิใน
หลอดแ ก้ว (in vitro fertilization) การถ ่ายฝ ากตัวอ ่อน (embryo transfer) ซึ่งสามารถท ำ�ให้ผลิตป ศุศ ัตว์
พันธุ์ด ีที่มีลักษณะเด่นได้เป็นจ ำ�นวนม าก ทำ�ให้ต้นทุนก ารผ ลิตต ํ่าล ง
3.3 การประยุกต์ในด้านการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ผลิตผลทางการเกษตรที่มีอยู่เป็นจำ�นวน
มาก ได้แก่ แป้งมันส ำ�ปะหลัง นํ้าตาลอ ้อย สามารถน ำ�มาเป็นวัตถุดิบในก ระบวนการหมักโดยอ าศัยยีสต์ ได้
ผลผ ลิตเป็นอัลกอฮอล์ ซึ่งนอกจากจ ะใช้ในการผ ลิตเหล้าแล้ว ในภ าวะที่ราคาน ํ้ามันเชื้อเพลิงในตลาดโลกส ูง