Page 155 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 155
กระบวนการด ำ�รงชีวิต 2-145
2.2 การเพม่ิ เข้ามาหรอื การขาดหายไปของเบส การท ี่เบสใน DNA ของยีนใดขาดหายไปห รือเพิ่ม
เข้ามา ทำ�ให้เกิดมิวเทชันได้ เพราะจะทำ�ให้เบสใน mRNA เปลี่ยนไป เนื่องจากการแปลรหัสพันธุกรรมใน
mRNA เริ่มที่ AUG และด ำ�เนินไปตามรหัสต ติยะ ค รั้งละ 3 เบส ดังนั้น ถ้าม ีเบสเพิ่มเข้ามาหรือห ายไป 1 ตัว
จะท ำ�ใหร้ หัสต ติยะ เคลื่อนช ุดไป (frame shift) ทำ�ใหไ้ดร้ หัสต ติยะ ใหมม่ คี วามห มายผ ิดไปจ ากเดิมโดยส ิ้นเชิง
มิใช่เป็นการเปลี่ยนชนิดก รดอ ะมิโนเพียงตัวเดียวเหมือนในลักษณะการเปลี่ยนเบส 1 ตัว แต่ท ำ�ให้โปรตีนที่
สร้างข ึ้นม าใหม่น ั้นผ ิดไป ไม่ส ามารถท ำ�ห น้าที่ได้เหมือนเดิม ซึ่งจ ะส ่งผ ลให้เซลล์เปลี่ยนไป และท ำ�ให้ส ิ่งม ีช ีวิต
เปลี่ยนแปลงไ ปใ นที่สุด
ในบางกรณีอาจมีการขาดหายไปของเบสเป็นจำ�นวนมาก เช่น การเกิดโรคแอลฟาธาลัสซีเมีย
(α-thalassemia) ซึ่งพบมากในประชากรไทย เกิดจากการขาดหายไปของยีนที่ควบคุมการสร้างแอลฟา-
โกลบิน ซึ่งมีเบสมากกว่า 1,000 เบส แต่การขาดหายไปของเบสจำ�นวนมากดังกล่าวจะไม่ปรากฏให้เห็นใน
ลักษณะของมิวเทชันที่ร ะดับโครโมโซมแ ต่อย่างใด
ความก้าวหน้าในงานวิจัยด้านพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล (molecular genetics) ทำ�ให้สามารถ
หาล ำ�ดับเบสข อง DNA ได้อ ย่างร วดเร็วแ ละแม่นยำ� ทำ�ให้สามารถต รวจห ามิวเทชันที่ระด ับน ิวค ลีโอไทด์ได้
รวดเร็ว และแทนที่ก ารต รวจม ิวเทชันท ี่ระดับโครโมโซมซ ึ่งเคยมีป ระโยชน์มากในอดีต