Page 151 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 151

กระบวนการด​ ำ�รง​ชีวิต 2-141
mRNA โดย​ยีน​โครงสร้าง ส่วน​รี​เพรส​เซอร์​จะ​จับ​ที่​บริเวณ​ของ​ยีน​ดำ�เนิน​การ​เพื่อ​ยับยั้ง​การ​สร้าง mRNA​
รีเ​พรสเ​ซอร์อ​ ีกพ​ วกห​ นึ่งจ​ ะร​ วมก​ ับร​ ีเ​พรสเ​ซอร์ต​ ัวร​ ่วม (corepressor) ก่อนเ​ข้าจ​ ับท​ ี่บ​ ริเวณย​ ีนด​ ำ�เนินก​ ารแ​ ละ​
มี​ผลย​ ับยั้ง​การ​แสดงไ​ด้ส​ องแ​ บบ คือ โอเ​ปอ​ รอน​ชักนำ� (inducible operon) และ โอเ​ป​อรอ​นกด​ดัน (repres-
sible operon)

       ระบบ​ชักนำ� (inducible system) จะ​มี​การส​ ังเคราะห์โ​ปรตีน​ก็​ต่อเ​มื่อ​มี​ตัวช​ ักนำ� (inducer) ซึ่ง​เมื่อ​
รวม​กับ​รี​เพรส​เซอร์​ทำ�ให้​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง​โครง​รูป ไม่​สามารถ​เข้าไป​จับ​ที่​ยีน​ดำ�เนิน​การ ดัง​นั้น RNA​
พอล​ ิเ​มอเรสจ​ ึงท​ ำ�งาน​ได้ ยีนโ​ครงสร้างจ​ ึงส​ ังเคราะห์โ​ปรตีน​ได้ (ภาพท​ ี่ 2.53)

                                   ภาพ​ที่ 2.53 ระบบ​ชกั น�ำ
       ระบบ​กดดัน (repressible system) จะ​มี​การ​สังเคราะห์​โปรตีน​ต่อ​เมื่อ​ไม่มี​รี​เพรส​เซอร์​ที่​รวม​กับ​
ผลผลิต (end product repressor) ซึ่ง​เมื่อ​สร้าง​ขึ้น​จะ​อยู่​ใน​รูป​ของ​รี​เพรส​เซอร์​ที่​ไม่​ทำ�งาน (inactive​
repressor) ไม่ส​ ามารถ​เข้าไป​จับท​ ี่​ยีน​ดำ�เนินก​ าร​ได้ ทำ�ให้ RNA พอล​ ิเ​มอเรสท​ ี่เ​กาะ​อยู่ท​ ี่ย​ ีนส​ ่ง​เสริม สามารถ​
ทำ�งานไ​ด้ ยีน​โครงสร้างจ​ ึงส​ ังเคราะห์โ​ปรตีนไ​ด้ แต่​ถ้า​รี​เพรสเ​ซอร์ท​ ี่​สร้าง​ขึ้นร​ วมก​ ับผ​ ลผลิต (end product)
ได้เ​ป็นร​ ีเ​พรสเ​ซอร์ท​ ี่ท​ ำ�งาน (active repressor) ซึ่งเ​ข้าไปจ​ ับท​ ี่ย​ ีนด​ ำ�เนินก​ ารไ​ด้ RNA พอล​ ิเ​มอเรสไ​ม่ส​ ามารถ​
ทำ�งานไ​ด้ จึง​ไม่มีก​ ารส​ ังเคราะห์​โปรตีน (ภาพ​ที่ 2.54)
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156