Page 148 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 148

2-138 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

            2.2.1 ปัจจยั ​ใน​การส​ งั เคราะห​โ์ ปรตนี มีด​ ังต​ ่อไ​ป​นี้
                1) 	RNA ชนิดต​ ่างๆ ได้แก่ mRNA, tRNA และ rRNA
                2) 	เอนไซม์​ต่างๆ ได้แก่ อะ​มิ​โน​เอ​ซิล ซินเธ​เทส (aminoacyl synthetase) และ​

​เพป​ทิดิล​ ทรานส์เฟอเรส (peptidyl transferase)
                3) 	ปัจจัยต​ ่างๆ ได้แก่ อินทิ​ เิ​อช​ ัน แฟกเตอร์ (initiation factor) อีลองเ​กช​ ัน แฟกเตอร์

(elongation factor) และเ​ท​อร์​มิ​เน​ชัน แฟกเตอร์ (termination factor)
                4) 	พลังงานใ​นร​ ูปต​ ่างๆ เช่น GTP เป็นต้น
                5) 	กรด​อะ​มิโ​น​และโ​ค​ดอนต​ ่าง ๆ

            2.2.2 ขน้ั ​ตอน​การ​สังเคราะห​โ์ ปรตีน แบ่งอ​ อก​เป็น 3 ขั้น​ตอน ดังภ​ าพ​ที่ 2.51
                1) การเ​รมิ่ ส​ งั เคราะหโ​์ ปรตนี (initiation) ไรโ​บโ​ซมห​ นว่ ยย​ อ่ ยเ​ลก็ จ​ ะเ​ขา้ ม​ าจ​ บั ก​ บั mRNA

และ tRNA ที่​จับ​กับ​กรด​อะ​มิ​โน​อยู่ นำ�​กรด​อะ​มิ​โน​ตัว​แรก​คือ ฟอร์มิ​ล เมไท​โอ​นีน (formyl methionine,
fMet) เข้าไป​เกาะ​ที่​ตำ�แหน่ง​เริ่ม​ต้น​ซึ่ง​มี​รหัส​เริ่ม​ต้น (AUG) ที่​ตำ�แหน่ง​นี้​มี​การ​สร้าง​พันธะ​เพป​ไทด์ เรียก
ตำ�แหน่งพ​ ี (P site) เมื่อส​ ิ้นส​ ุดถ​ ึงข​ ั้นน​ ี้เ​รียก อินิท​ ิเ​อช​ ัน คอมเพล็กซ์ (initiation complex) จากน​ ั้นไ​รโ​บโ​ซม​
หน่วยย​ ่อยใ​หญ่จ​ ะเ​ข้าไปจ​ ับก​ ับไ​รโ​บโ​ซมห​ น่วยย​ ่อยเ​ล็กโ​ดยที่ต​ ้องใ​ช้พ​ ลังงาน GTP และอ​ ินิท​ ิเ​อช​ ัน แฟกเตอร​์
ต่างๆ จะ​ได้เ​ป็น​อินิ​ทิ​เอช​ ัน​คอมเพล็กซ์​ที่​สมบูรณ์

                2) การ​ต่อ​สาย​พอ​ลิ​เพป​ไทด์​ให้​ยาว​ขึ้น (elongation) tRNA จะ​นำ�​กรด​อะ​มิ​โน​ตัว​ที่​สอง​
เข้า​เกาะ​ที่​ตำ�แหน่ง​เอ (A site) ซึ่ง​เป็น​ตำ�แหน่ง​ที่​กรด​อะ​มิ​โน​ตัว​ใหม่​เข้า​มา จะ​สร้าง​พันธะ​เพป​ไทด์​ระ​หว่า​ง​
ก​รด​อะ​มิ​โน​ตัว​แรก​และ​กรด​อะ​มิ​โน​ตัว​ที่​สอง​โดย​ใช้​เอนไซม์เพป​ทิดิ​ล ทรานส์เฟอเรส อีลอง​เก​ชัน แฟกเตอร์
ตา่ งๆ และ GTP tRNA ทตี​่ �ำ แหนง่ พ​ จ​ี ะห​ ลดุ อ​ อกเ​ปน็ อ​ สิ ระ ไรโ​บโ​ซมจ​ ะเ​คลือ่ นไ​ปท​ างป​ ลาย 3ʹ ครัง้ ล​ ะ 1 โคด​ อน​
ทำ�ให้​เกิด​การ​เปลี่ยน​ตำ�แหน่ง​จาก​ตำ�แหน่ง​เอ​เป็น​ตำ�แหน่ง​พี​ทำ�ให้​ตำ�แหน่ง​เอ​ว่าง​ลง​พร้อม​ที่​จะ​ให้ tRNA นำ�​
กรด​อะ​มิ​โน​ตัว​ต่อไ​ปเ​ข้า​มา​เกาะแ​ ละส​ ร้างพ​ ันธะ​เพป​ไทด์ เป็นกร​ ะ​บวนก​ ารต​ ่อส​ าย​พอ​ลิเ​พปไ​ทด์​ให้​ยาว​ขึ้น

                3) การห​ ยุด​การ​สงั เคราะห​์โปรตีน (termination) การต​ ่อ​สายพ​ อล​ ิเ​พปไ​ทด์ด​ ำ�เนินต​ ่อ​ไป​
จนก​ ระทั่ง​พบ​โค​ดอนท​ ี่ห​ ยุดก​ าร​สังเคราะห์​โปรตีน เช่น UAA UAG หรือ UGA ที่ต​ ำ�แหน่งเ​อ tRNA จะ​ไม่​
นำ�​กรด​อะ​มิ​โนเ​ข้าม​ า แต่จ​ ะ​นำ� รีล​ ีส แฟกเตอร์ (release factor) เข้า​มา​แทน จึง​ทำ�ให้ก​ าร​สังเคราะห์โ​ปรตีน​
หยุดล​ ง สายพ​ อล​ ิเพปไ​ทด์ถ​ ูกป​ ล่อยเ​ป็นอ​ ิสระ รวมท​ ั้ง tRNA mRNA ไรโ​บโ​ซมห​ น่วยย​ ่อยเ​ล็กแ​ ละใ​หญ่ และ​
รี​ลีส แฟกเตอร์ จะ​ถูกป​ ล่อย​เป็นอ​ ิสระเ​ช่น​กัน
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153