Page 153 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 153
กระบวนการด ำ�รงชีวิต 2-143
เรือ่ งท ่ี 2.4.4 ความผดิ ปกตทิ างพันธุกรรม*
มิวเทชัน คือ การเกิดลักษณะใหม่ในกลุ่มลักษณะปกติอันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสาร
พนั ธกุ รรมห รอื DNA ลกั ษณะใหมน่ สี้ ามารถถ า่ ยทอดไปส รู่ ุน่ ล กู ห ลานต อ่ ไปไดต้ ามก ฎก ารถ า่ ยทอดพ นั ธกุ รรม
ทุกป ระการ ตัวอย่างเช่น พบค นเผือกในค รอบครัวป กติ แมลงห วี่ต าส ีข าวในก ลุ่มแ มลงห วี่ต าส ีแ ดง แบคทีเรีย
ดื้อยาป ฏิชีวนะ เหล่านี้เป็นต้น มิวเทชันอาจเกิดข ึ้นเอง (spontaneous mutation) หรือเกิดจ ากส ารเคมี หรือ
รังสีเป็นต ัวก่อให้เกิดม ิวเทช ัน เรียกรวมว่า สารก ลายพ ันธุ์ (mutagen) และเรียกส ิ่งมีชีวิตท ี่เปลี่ยนแปลงไป
ว่า พันธุ์ก ลาย (mutant)
มิวเทช ันอาจเกิดขึ้นก ับเซลล์ส ืบพันธุ์ที่จ ะกลายเป็นอ สุจิหรือไข่ เช่น เซลล์ที่อัณฑะ หรือเซลล์ที่ร ังไข่
อาจเรียกมิวเทชันแบบนี้ว่าเป็นม ิวเทชันในเซลล์ส ืบพันธุ์ (gonadal mutation) ซึ่งจะถ่ายทอดไปยังตัวอ ่อน
และล ูกห ลานต ่อไป อีกช นิดห นึ่งเป็นม ิวเทช ันในเซลลร์ ่างกาย (somatic mutation) ซึ่งจ ะไมส่ ามารถถ ่ายทอด
ไปย ังตัวอ ่อนและล ูกหลาน
เนื่องจากยีนในส ัตว์แ ละพ ืชม ี 2 ชุด ดังนั้น มิวเทช ันอาจเกิดข ึ้นแ ต่ย ังไม่แ สดงลักษณะออกม า แต่
จะแฝงอยู่ในลักษณะด้อย เช่น คนเผือก (albino) เกิดจากมิวเทชันของยีนควบคุมการสร้างรงควัตถุของ
เมล านิน ลักษณะเผือกจ ะแสดงออกเมื่อมีม ิวเทช ันเกิดข ึ้นในย ีนด ังก ล่าวท ั้ง 2 ชุด ในสิ่งมีชีวิตพวกแบคทีเรีย
และไวรัส ยีนต ่างๆ มีเพียง 1 ชุด ดังนั้น มิวเทชันจะแสดงลักษณะพ ันธุ์ก ลายอ อกมาให้เห็นได้ท ันที เช่น การ
ดื้อยาปฏิชีวนะของแ บคทีเรีย เป็นต้น
มวิ เทช นั อ าจเกดิ ข ึน้ ได้ 2 ระดบั คอื ระดบั โครโมโซมซ ึง่ ส ามารถส งั เกตเหน็ ไดใ้ นข ณะท มี่ กี ารแ บง่ เซลล์
และระดับนิวคลีโอไทด์ซึ่งไม่สามารถสังเกตได้ แต่ท ั้งส องระดับต ่างก็เป็นค วามผ ิดป กติท ี่ DNA ทั้งสิ้น
1. มวิ เทชนั ท่รี ะดบั โครโมโซม
มิวเทช ันท ี่ร ะดับโครโมโซมเป็นม ิวเทช ันท ี่ส ังเกตได้จ ากล ักษณะข องโครโมโซมเมื่อเซลล์แ บ่งต ัว อาจ
แบ่งได้ตามลักษณะที่พ บเป็น 4 ชนิด ดังแ สดงในต ารางท ี่ 2.3
1.1 การขาดหายไปบางส่วนของโครโมโซม (deletion) ทำ�ให้ได้โครโมโซมที่มีขนาดสั้นกว่าปกติ
เนื่องจากม ียีนบ างส ่วนข าดหายไป ในคนพบว ่าการขาดห ายไปบ างส่วนของโครโมโซมค ู่ที่ 5 จะท ำ�ให้เกิดโรค
ซึ่งมีลักษณะปัญญาอ่อนและมีเสียงร้องคล้ายแมว ในบางกรณีอาจพบการขาดหายไปของโครโมโซมทั้งชิ้น
เช่น การข าดห ายไปของโครโมโซม X ในผู้ห ญิง ทำ�ให้เหลือโครโมโซม X เพียงชุดเดียว จะทำ�ให้ม ีลักษณะ
ตัวเตี้ยสั้น ปัญญาอ่อน (Turner’s syndrome)
* รวบรวมและเรียบเรียงจาก สกล พันธุ์ยิ้ม (2525) “การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม” ใน เอกสารการสอนชุดวิชา
วิทยาศาสตร์ชีวภาพกายภาพ 1 หน่วยที่ 2 หน้า 73-136 นนทบุรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช