Page 154 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 154
2-144 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1.2 การเพิ่มบางส่วนของโครโมโซม (addition) เป็นกรณีตรงข้ามกับการขาดหายไป คือ มีส่วน
ข องโครโมโซมเพิ่มข ึ้น หรือม ีโครโมโซมทั้งช ิ้นเพิ่ม เช่น ในคนพ บการเพิ่มโครโมโซมคู่ท ี่ 21 จาก 2 ชิ้น เป็น
3 ชิ้น จะทำ�ให้เกิดโรคปัญญาอ่อน (Down’s syndrome) หรือการเพิ่มของโครโมโซม X ในผู้ชายทำ�ให้มี
โครโมโซมเพศเป็น XXY เกิดลักษณะม ือ เท้าย าว เสียงแ หลม ลูกอัณฑะไม่เจริญเติบโต
1.3 การเปลีย่ นก ารเรยี งต ัวข องยนี บ นโครโมโซม (inversion) ส่วนของโครโมโซมห ลุดอ อกจ ากกัน
และเมื่อต ่อก ันอ ีกจ ะกลับท ิศทางทำ�ให้การเรียงล ำ�ดับข องย ีนบ นโครโมโซมก ลับท ิศทาง
1.4 การแลกเปล่ียนท่ีของช้ินส่วนโครโมโซม (translocation) ส่วนหนึ่งของโครโมโซมสลับที่กัน
โดยย งั ค งม ที ศิ ทางเหมอื นเดมิ อาจเปน็ ส าเหตขุ องค วามผ ดิ ป กตหิ ลายอ ยา่ งในค นความผ ดิ ป กตขิ องโครโมโซม
ดังก ล่าวท ำ�ให้เกิดค วามผ ิดป กติในล ักษณะแ ละก ารจ ับค ู่ข องโครโมโซมท ำ�ให้ส ามารถส ังเกตแ ยกจ ากล ักษณะ
ปกติได้
มวิ เทช นั ด งั ก ลา่ วม กั ท �ำ ใหเ้ กดิ ค วามผ ดิ ป กตใิ นค นแ ละส ตั ว์ เพราะท �ำ ใหเ้ กดิ ค วามไมส่ มดลุ ในล กั ษณะ
ทางส รรี ะข ึน้ แตใ่ นพ ชื บ างช นดิ อ าจใหป้ ระโยชนไ์ ด้ โดยเฉพาะอ ยา่ งย ิง่ มวิ เทช นั ท เี่ กดิ จ ากก ารเพิม่ ช ดุ โครโมโซม
จาก 2 ชุดไปเป็นห ลายช ุด (polyploid) อันเป็นผลให้พืชม ีผ ลผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากม ีปริมาณย ีนเพิ่มข ึ้น
2. มวิ เทช ันท ่รี ะดับน ิวคลโีอไ ทด์
เนื่องจากรหัสพันธุกรรมในเส้น DNA ขึ้นกับชนิดและการเรียงลำ�ดับของเบสหรือนิวคลีโอไทด์
ถ้าเบสหรือนิวคลีโอไทด์ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปจะเป็นผลให้รหัสพันธุกรรมผิดไปจากเดิมซึ่งเรียกว่าเป็น
การเกิดมิวเทชัน มิวเทชันที่ระดับนิวคลีโอไทด์มีชนิดที่สำ�คัญ 2 ชนิด คือ การเปลี่ยนเบสตัวหนึ่ง และ
การเพิ่มเข้าม าห รือข าดห ายไปข องเบส
2.1 การเปลี่ยนเบสตัวหน่ึง (point mutation) เป็นการเปลี่ยนเบสเพียงตัวเดียวที่อาจทำ�ให้ความ
หมายข องร หสั พ นั ธกุ รรมเปลีย่ นไป เชน่ การเกดิ เซลลเ์ มด็ โลหติ แ ดงร ปู เคยี ว ซึง่ เกดิ จ ากก ารเปลีย่ นก รดอ ะม โิ น
ลำ�ดับที่ 6 จากกรด กล ูตาม ิก (รหัสต ติยะ GAG) ไปเป็นวาล ีน (รหัส GUG) ซึ่งจ ากการศ ึกษาการเรียงลำ�ดับ
ของเบสใน DNA พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเบสเพียงตัวเดียวคือ จากไทม ีนเป็นอะด ีน ีน เป็นผลให้โครงสร้าง
ของฮ โีมโกล บินเปลี่ยนไป ท�ำ ใหเ้ซลลเ์ ม็ดโลหติ แ ดงเปลี่ยนจ ากล กั ษณะร ูปท รงก ลมเวา้ ก ลางไปเปน็ ร ปู เคยี ว ซึง่
ไม่ส ามารถไหลผ ่านเส้นโลหิตฝ อยได้ ทำ�ให้เกิดก ารอ ุดต ันข องเส้นโลหิต ทำ�ให้อ วัยวะท ี่ส ำ�คัญเช่น สมอง หรือ
หัวใจข าดโลหิตไหลเวียนน ำ�อ อกซิเจนม าให้ ทำ�ให้อ วัยวะท ี่ส ำ�คัญด ังก ล่าวช ำ�รุดเสียห าย นอกจากน ี้ เซลล์เม็ด
โลหิตแ ดงร ูปเคียวย ังม ีผ ลให้เซลล์เม็ดโลหิตแ ดงแ ตก และท ำ�ใหเ้กิดอ าการโลหิตจ าง จะเห็นว ่าการเปลี่ยนเบส
เพียงตัวเดียวอาจท ำ�ให้ลักษณะข องสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนไปม าก แต่ในบางค รั้งก ารเปลี่ยนเบส 1 ตัว อาจจะไม่มี
ผลต่อความห มายข องร หัสต ติยะ ก ็เป็นไปได้ ทั้งนี้เพราะร หัสต ติยะ ท ี่ต่างกันอ าจให้ค วามหมายเหมือนกันได้
เช่น –GAA- ไปเป็น –GAG- ต่างก ็เป็นรหัสของกรดกล ูตามิก การเปลี่ยนสลับเบสอะด ีน ีน และก วาน ีน หรือ
ไทม ีน และไซโทซ ีน เป็นการเปลี่ยนเบสในห มู่พ ิวร ีน หรือไพร ิม ิด ีน ซึ่งถ ือว่าเป็นการเปลี่ยนเบสในห มู่เดียวกัน
(transition) แต่ถ้าเป็นอะดีนีน และไทมีน หรือกวานีน และไซโทซีน เป็นการเปลี่ยนเบสในหมู่พิวรีนกับ
ไพริม ิดีน อาจเรียกว ่าเป็นการเปลี่ยนเบสข้ามห มู่ (transversion)