Page 147 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 147
กระบวนการด ำ�รงช ีวิต 2-137
ตารางที่ 2.2 ตารางร หสั พนั ธกุ รรม
2.1 รหัสพันธุกรรม ตารางร หัสพันธุกรรม (ตารางที่ 2.2) ซึ่งอ ยู่ในรูปข องก ารเรียงลำ�ดับเบส 3 ตัว
ใน mRNA มีความห มายเป็นชนิดข อง กร ดอ ะมิโน 1 ตัว (เบส 3 ตัวเป็นร หัสบอก กรดอะมิโน 1 ตัว) เรียกว่า
เป็นร หัสตติยะ (triplet code หรือ codon) เช่น UUU เป็นรหัสตติยะ ของกรดอะม ิโนฟ ีนิลอ ะลาน ีน (phe)
และ AAA เป็นรหัสตติยะของของกรดอะมิโนไลซีน (lys) เป็นต้น เนื่องจากมีเบสใน mRNA 4 ชนิด คือ
อะดีน ีน กวาน ีน ไซโทซ ีน และยูราซ ิล ดังนั้น ปริมาณรหัสตติยะจ ะมีได้ทั้งหมดเท่ากับ 43 คือ 64 รหัส แต่
กรดอ ะมิโนม ีอยู่เพียง 20 ชนิด ดังนั้น จะพ บว่ากรดอะม ิโนบางช นิดม ีรหัสต ติยะ ม ากกว่า 1 รหัส เช่น ซีรีน
(ser) อาจมีรหัสตติยะเป็น UCA UCC UCG หรือ UCU ก็ได้ เช่นเดียวกันกับอาร์จีนีน (arg) อาจมีรหัส
ตติยะเป็น CGA CGC CGG CGU AGA หรือ AGG ก็ได้
โดยอ าศยั ต ารางร หสั พ นั ธกุ รรม ขอ้ ความพ นั ธกุ รรมใน mRNA จะแ ปลอ อกเปน็ การส งั เคราะหโ์ ปรตนี
ชนิดต่างๆ เช่น mRNA ที่มีการเรียงของลำ�ดับเบสเป็น –UCA-CGA-AAA- จะมีการเรียงลำ�ดับของกรด
อะมิโนในโปรตีนเป็น –แอส พ าราจีน-กรดแ อส พาร์ต ิก-ลิวซ ีน- เป็นต้น
2.2 การส งั เคราะหโ์ ปรตีน* มีปัจจัยห ลายชนิด เช่น RNA เอ็นไซม์ และกรดอะมิโน การสังเคราะห์
โปรตีนมี 3 ขั้นตอน คือ การเริ่มสังเคราะห์โปรตีน การต่อสายพอลิเพปไทด์ให้ยาวขึ้น และการหยุดการ
สังเคราะห์โปรตีน ซึ่งมีร ายล ะเอียดดังนี้
* รวบรวมแ ละเรยี บเรยี งจ าก นติ ยศ์ รี แสงเดอื น (2537) “หลกั การถา่ ยทอดพนั ธกุ รรม” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ าพฤกษศาสตร์
ขั้นสูงสำ�หรับครู หน่วยที่ 9 หน้า 77-194 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช