Page 103 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 103

กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-93

      1. 	การนำ�​เสนอเ​นื้อหา/การนำ�​เข้าส​ ู่บ​ ทเ​รียน (Presentation/Lead-in) เป็นการเ​ตรียมผ​ ู้เ​รียน​
ล่วง​หน้าเ​กี่ยวก​ ับห​ ัวข้อ (topic) ที่จ​ ะเ​ขียน โดยผ​ ู้ส​ อนใ​ห้ข​ ้อมูลท​ าง​ภาษาแ​ ก่​ผู้เ​รียน มุ่ง​เน้นใ​ห้ผ​ ู้เ​รียน​ได​้
รบั ร​ แู​้ ละท​ �ำ ความเ​ขา้ ใจเ​กีย่ วก​ บั ค​ วามห​ มายแ​ ละร​ ปู แ​ บบภ​ าษา รวมท​ ัง้ ว​ ธิ ก​ี ารใ​ชภ​้ าษาใ​นด​ า้ นก​ ารอ​ อกเ​สยี ง
ความ​หมาย คำ�​ศัพท์ และ​โครงสร้าง​ทาง​ไวยากรณ์​ที่​เหมาะ​สม​กับ​สถานการณ์ ที่​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​ใน​การ​
เขียน ตัวอย่างเ​ช่น

           - 	 ดู​ภาพเ​กี่ยวก​ ับ​หัวข้อท​ ี่​จะเ​ขียน แล้ว​นำ�​สนทนา/ถามต​ อบ​เกี่ยวก​ ับ​ภาพ
           - 	 ถาม-ตอบ/นำ�​สนทนา​เกี่ยว​กับ​สถานการณ์​ที่​เกี่ยวข้องก​ ับ​หัวข้อ​ที่จ​ ะเ​ขียน
           - 	 อ่าน​บท​อ่าน​ประเภท​ต่างๆ เช่น บท​สนทนา บทความ จดหมาย บท​โฆษณา ฯลฯ
ที่เ​กี่ยวข้องก​ ับ​หัวข้อ​ที่​จะ​เขียน แล้ว​นำ�​สนทนา/ถาม​ตอบ​สั้นๆ เกี่ยว​กับบ​ ทอ​ ่าน
      2. 	การ​ฝึก​ปฏิบัติ/การ​เรียบ​เรียง​เนื้อ​ความ (Practice/Organizing Texts) เป็นการ​ฝึก​ใช้​
ภาษา​จาก​ขั้น​การนำ�​เสนอ​เนื้อหา​โดย​เริ่ม​จาก​การ​ฝึก​แบบ​ควบคุม​หรือ​ชี้นำ�  (controlled practice/
directed activities) ไป​สู่​การ​ฝึกแ​ บบ​กึ่ง​ควบคุม (semi-controlled) ซึ่งใ​ห้​ผู้เ​รียน​ทำ�​เอง​มาก​ขึ้น โดย​
มี​จุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​ให้​ผู้​เรียน​จดจำ�​รูป​แบบ​ของ​ภาษา​จึง​มุ่ง​เน้น​ที่​ความ​ถูก​ต้อง​ของ​ภาษา (accuracy)
ใน​การ​ฝึก​นั้น​ผู้​สอน​จะ​เริ่ม​จาก​การ​ฝึก​ปาก​เปล่า (oral) เกี่ยว​กับ​การ​ใช้​โครงสร้าง​ของ​ประโยค​ตาม​
บทเ​รียน ซึ่งเ​ป็นการพ​ ูดต​ ามแ​ บบง​ ่ายๆ ก่อน จนไ​ด้ร​ ูปแ​ บบข​ องภ​ าษา ทั้งนีผ้​ ู้ส​ อนต​ ้องใ​หข้​ ้อมูลป​ ้อนก​ ลับ
(feedback) ด้วย เพื่อใ​ห้​ผู้เ​รียน​ทราบ​ว่าต​ น​ใช้ภ​ าษา​ได้​ถูกต​ ้อง​หรือไ​ม่ นอกจาก​นี้​อาจ​ตรวจส​ อบค​ วาม​
เข้าใจด​ ้านค​ วามห​ มาย (แตไ่​มค่​ วรใ​ชเ้​วลาม​ ากน​ ัก) ก่อนก​ ารฝ​ ึกเ​ขียนเ​พื่อเ​ป็นการผ​ นึกค​ วามแ​ ม่นยำ�​ก่อน​
การนำ�​ไปใ​ช้ ตัวอย่างเช่น
           - 	 การ​คัด​ลอก (copying) เป็นการ​ลอก​ข้อความ เพื่อ​การ​เรียน​รู้​การ​สะกด​คำ�  การ​
ประกอบค​ ำ�​เข้า​เป็น​ประโยค
           - 	 เรียง​คำ�​ให้​เป็น​ประโยค (re-ordering)
           - 	 เชื่อมป​ ระโยคโ​ดยใ​ช้​คำ�​ขยาย​ใน​ตำ�แหน่งท​ ี่​ถูกต​ ้อง
           - 	 เปลี่ยน​รูปแ​ บบข​ อง​คำ� (changing forms) ให้​สอดคล้อง​กับ​ประธาน กาล (tenses)
และ​บริบท
           - 	 เขียนแ​ บบ​คู่​ขนาน (parallel writing) เช่น การ​เขียน​ตามแ​ นว​ของ​ข้อเ​ขียนห​ รือ​บท​
อ่าน​ที่​กำ�หนด​ให้
           - 	 เติมค​ ำ� วลี ลงใ​นช​ ่องว​ ่าง (gap filling) ให้ถ​ ูกต​ ้อง
           - 	 เขียนต​ ามค​ ำ�​บอก
           - 	 ถาม-ตอบ​เกี่ยว​กับ​เนื้อ​เรื่อง​ที่​จะ​เขียน ตาม​ลำ�ดับ​ของ​เนื้อ​เรื่อง​เพื่อ​เป็น​แนวทาง​ใน
​การเ​ขียน
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108