Page 65 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 65
กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-55
เรือ่ งท ี่ 5.2.3 การเรยี นก ารส อนไ วยากรณ์
การเรียนไ วยากรณ์ที่มปี ระสทิ ธิภาพ
การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นผู้เรียนจำ�เป็นต้องมีความรู้ทั้งในด้าน
คำ�ศัพท์ไวยากรณ์ และเนื้อหาท างภ าษาอื่นๆ ควบคู่กันไป (ดังท ี่ได้ก ล่าวม าแล้วในตอนต้นข องหน่วย
ที่ 5) และในทำ�นองเดียวกันก ารเรียนไวยากรณ์ไม่ใช่เพียงเพื่อให้ผ ู้เรียนร ู้ร ายการไวยากรณ์ (dry list
of facts) และกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ (rules) เท่านั้น ผู้เรียนต้องสามารถนำ�ไปใช้ในการสื่อความคิด
ความร ู้สึก และเข้าใจสิ่งที่ผ ู้อื่นพูดหรือเขียนด้วย (Rose, 1996; Scrivener, 2003; Scrivener, 2005)
สคร ิเวเนอร์ (Scrivener, 2003; Scrivener, 2005) กล่าวถ ึงส ิ่งจำ�เป็นที่ช่วยให้ผู้เรียนเรียนไวยากรณ์
ได้อ ย่างม ีประสิทธิภาพส รุปได้ดังนี้
1. รู้จักสังเกต (Notice) เนื้อหาทางภาษาที่ใช้ในสาร (texts) ประเภทต่างๆ เช่น นิทาน
เหตุการณ์ บทส นทนา
2. เข้าใจ (Understand) รูปแ บบข องภ าษา (form) ความห มาย และก ารนำ�ไปใช้ในบ ริบทแ ละ
สถานการณ์ต ่างๆ
3. ลองใช้ (Try Things out) และม ีโอกาสได้ฝ ึกใช้ (Have Opportunities) เนื้อหาท างภ าษา
ที่เป็นความรู้ใหม่ โดยมีข้อจำ�กัดในด้านเนื้อหาท างภาษาอื่นๆ
4. ใช้ (Use) ทั้งในการพูดและการเขียน และถึงแม้ว่าผู้เรียนได้ฝึกฝนการใช้ภาษาที่เรียน
ไปแ ล้วหลายครั้ง ก็อาจจะยังต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ เพราะผู้เรียนต้องการโอกาสในก ารใช้ภาษาใน
สถานการณ์ต่างๆ ที่ห ลากห ลาย เพื่อจะได้จ ำ�และน ำ�ไปใช้ได้
ดงั น ัน้ ส ิง่ ท ผี่ สู้ อนจ �ำ เปน็ ต อ้ งพ จิ ารณาในก ารจ ดั การเรยี นก ารส อนไวยากรณ์ (Scrivener, 2003;
Scrivener, 2005) สรุปได้ดังนี้
1. ให้ผ ู้เรียนท ำ�กิจกรรมก ารอ ่านแ ละก ารฟ ังม ากๆ ซึ่งค วรเป็นบ ทอ ่านแ ละบ ทฟ ังท ี่ใช้ภ าษาใน
ชีวิตจ ริง (realistic text) ที่ม ีร ะดับค วามย ากง ่ายข องเนื้อหาท างภ าษาส ูงก ว่าร ะดับข องผ ู้เรียนเล็กน ้อย
เพื่อผู้เรียนจะได้เห็นแ ละเข้าใจเนื้อหาทางภ าษาใหม่มากขึ้น
2. เตรียมส ารป ระเภทต ่างๆ แบบฝ ึกหัด และเทคนิคต ่างๆ ที่ช ่วยให้ผู้เรียนส ังเกตเนื้อหาท าง
ภาษาแต่ละอ ย่าง ทั้งนี้ส าร (text) ประเภทต ่างๆ ที่เขียนข ึ้นเป็นพิเศษสำ�หรับผ ู้เรียน (เช่น มีต ัวอย่าง
เพิ่มข ึ้น) อาจจะมีประโยชน์ได้ร ับข ้อมูลเกี่ยวกับ รูปแบบ ความหมาย และการใช้เนื้อหาทางภ าษาจาก
ผู้เรียน