Page 67 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 67
กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-57
การน�ำ เสนอไ วยากรณ์
วิธีก ารนำ�เสนอกฎเกณฑ์ไวยากรณ์มี 2 วิธี ได้แก่
1. แบบนิรนัย (deductive) เป็นการสอนโดยเริ่มจากผู้สอนนำ�เสนอกฎเกณฑ์ไวยากรณ์
ยกตัวอย่างประโยค อธิบาย ให้ผู้เรียนคิดหาตัวอย่างเพิ่มเติม แล้วให้ทำ�กิจกรรมเพื่อการฝึกใช้
ไวยากรณ์นั้น
2. แบบอุปนยั (inductive) เป็นการส อนจากส่วนย่อยไปหาส ่วนรวม หรือจากต ัวอย่างหลาย
ตัวอย่างไปหากฎเกณฑ์ หลักการ ข้อเท็จจริง ข้อสรุป หรืออาจจะเริ่มจากการให้ผู้เรียนทำ�กิจกรรม
จากก ารให้ผ ู้เรียนศึกษา สังเกต ลองใช้ เปรียบเทียบ พิจารณาอ งค์ประกอบท ี่ค ล้ายก ัน หรือเหมือนก ัน
กับต ัวอย่าง และให้ผ ู้เรียนช่วยกันสรุปก ฎเกณฑ์ไวยากรณ์ แล้วน ำ�ไปใช้ในการแ ก้ป ัญหา หรือท ำ�แบบ
ฝึกเพิ่มเติม
การที่ผู้สอนจะนำ�เสนอไวยากรณ์หรือเนื้อหาต่างๆ ในรูปแบบใดนั้น ถ้าผู้สอนเห็นว่าผู้เรียน
สามารถรับรู้และสรุปเกี่ยวกับหลักการ กฎเกณฑ์ไวยากรณ์นั้นได้อย่างรวดเร็วและง่ายๆ แล้ว การ
สอนแบบอุปนัยซึ่งให้ผู้เรียนค้นพบข้อสรุปได้ด้วยตนเองมักจะช่วยให้ผู้เรียนจดจำ�ได้ดีกว่า แต่ถ้าผู้
สอนเห็นว่าหลักการหรือก ฎเกณฑ์ไวยากรณ์นั้นๆ เป็นเรื่องยาก ต้องใช้เวลามากและอาจทำ�ให้ผู้เรียน
เกิดค วามร ู้สึกค ับข ้องใจ (frustrating) ในก ารค ิดเดาค ำ�ตอบเหล่าน ั้น การส อนแ บบน ิรนัย ซึ่งผ ู้ส อนได้
จัดเตรียมห ลักการก ฎเกณฑ์ไว้ไห้ผ ู้เรียนจะดีก ว่า (Ur, 2006)
การฝ ึกท บทวนไ วยากรณ์
รูปแบบของการฝ ึกไวยากรณ์ในห นังสือเรียน มักจะมีแ บบฝึกไวยากรณ์ 1–3 ประเภท (Na-
tional Capital Language Resource (NCLRC), (n.d.) ได้แก่ การฝ ึกร ะดับกลไก (mechanical
drills) การฝึกอย่างมีค วามหมาย (meaningful drills) และการฝึกเพื่อการสื่อสาร (communicative
drills)
1. การฝ กึ ร ะดบั ก ลไก(MechanicalDrills) เปน็ การฝ กึ พ ดู /เขยี นต ามแ นวค วบคมุ (controlled
drills) ผู้ส อนเป็นผ ู้ค วบคุมการต อบ ผู้เรียนอ าจพูด/เขียนได้ถ ูกต้องโดยไม่เข้าใจค วามห มาย การฝึก
ระดับกลไกม ีหลายลักษณะ เช่น
- การฝ ึกซํ้าๆ (Repetition Drills) เป็นการฝึกพูดด้วยการเลียนแ บบ หรือต าม
ต้นแบบที่กำ�หนดให้ เช่น
ครู: I like reading. นักเรียน: I like reading.
ครู: She likes reading. นักเรียน: She likes reading.
ครู: They like reading. นักเรียน: They like reading.