Page 18 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 18

7-8 วิศวกรรมซอฟต์แวร์

2. 	ความแตกตา่ งระหว่างการพฒั นาซอฟตแ์ วร์เชิงโครงสรา้ งและการพัฒนาซอฟตแ์ วร์เชิงวตั ถุ

       จากแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์ท้ังสองรูปแบบ สามารถสรุปความแตกต่างระหว่างวิธีการเชิงโครงสร้างและ
วิธีการเชิงวัตถุ จากหลาย ๆ ประเด็น ได้ดังน้ี

       2.1		ลักษณะทั่วไป ในแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงโครงสร้างเป็นการน�ำปัญหามาแตกเป็นส่วนย่อย ๆ
ในรูปของกระบวนการท�ำงาน เช่น ซอฟต์แวร์ส�ำหรับการลงทะเบียนเรียน ประกอบด้วยการท�ำงานหลาย ๆ ส่วน ได้แก่
การค้นหารายวิชาท่ีเปิดสอน การค�ำนวณหน่วยกิตรวมที่ลงทะเบียน การบันทึกการลงทะเบียนเรียน การอนุมัติการลง
ทะเบยี นเรยี น เปน็ ตน้ แตส่ ำ� หรบั แนวทางการพฒั นาซอฟตแ์ วรเ์ ชงิ วตั ถนุ น้ั เปน็ การมองสง่ิ ตา่ ง ๆ ในระบบเปน็ ออ็ บเจก็ ต์
ทม่ี คี วามเปน็ อสิ ระตอ่ กนั แตส่ ามารถทำ� งานรว่ มกนั ได้ เชน่ ซอฟตแ์ วรส์ ำ� หรบั การลงทะเบยี นเรยี น ประกอบดว้ ยออ็ บเจก็ ต์
รายวชิ าเรยี น อาจารยผ์ สู้ อน ห้องเรียน นักศึกษา และมีความสัมพันธ์กันได้โดยนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
นั้นได้ รายวิชาเรียนน้ันมีอาจารย์ผู้สอนคือใคร และเรียนท่ีห้องเรียนไหน เป็นต้น

       2.2		ลักษณะการจ�ำแนกงาน ในแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงโครงสร้างเป็นการแตกกระบวนการท�ำงาน
เป็นหน่วยย่อย ๆ เรียกว่า ฟังก์ช่ัน ในแต่ละฟังก์ช่ันจะประกอบด้วยข้ันตอนการท�ำงานท่ีแสดงถึงหน้าที่การท�ำงาน
เฉพาะของฟังก์ช่ันนั้น ๆ แต่ส�ำหรับแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุน้ัน เป็นการจ�ำแนกอ็อบเจ็กต์ท่ีวิเคราะห์
ออกมาไดแ้ ลว้ แบง่ กลมุ่ ออ็ บเจก็ ตเ์ หลา่ นนั้ ตามคณุ ลกั ษณะของแตล่ ะออ็ บเจก็ ต์ โดยออ็ บเจก็ ตท์ ม่ี คี ณุ ลกั ษณะเหมอื นกนั
สามารถรวมอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้

       2.3		ลกั ษณะการทำ� งาน ในแนวทางการพฒั นาซอฟตแ์ วรเ์ ชงิ โครงสรา้ งนน้ั ฟงั กช์ นั่ การทำ� งานตา่ ง ๆ ที่สร้างขึ้น
มีลักษณะการท�ำงานที่ขึ้นตรงต่อกัน โดยมีการส่งพารามิเตอร์จากฟังก์ชั่นหน่ึงไปยังอีกฟังก์ชั่นหนึ่งเพ่ือให้การท�ำงาน
นนั้ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ เชน่ ฟงั กช์ น่ั หลกั ของการลงทะเบยี นอาจตอ้ งมกี ารสง่ พารามเิ ตอรร์ หสั รายวชิ าเรยี นไปยงั ฟงั กช์ น่ั
ค้นหารายวิชาที่เปิดสอน เพื่อตรวจสอบว่ารายวิชานั้นมีการเปิดสอนในเทอมน้ันหรือไม่ แต่ส�ำหรับแนวทางการพัฒนา
ซอฟต์แวร์เชิงวัตถุนั้น อ็อบเจ็กต์ท่ีมีการแบ่งกลุ่มในแต่ละกลุ่ม จะมีความเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกัน และติดต่อกันโดย
การส่งเมสเสจ (message) ถึงกันเม่ือต้องการเรียกใช้การท�ำงานของอ็อบเจ็กต์ในกลุ่มใด ๆ

       2.4		ขนั้ ตอนการทำ� งาน ในแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงโครงสรา้ งนั้น เริ่มตน้ ที่การก�ำหนดโครงสร้างและ
ประเภทของข้อมูล จากนั้นจึงก�ำหนดฟังก์ช่ันการท�ำงานให้กับโครงสร้างข้อมูลดังกล่าว แต่ส�ำหรับแนวทางการพัฒนา
ซอฟต์แวร์เชิงวัตถุน้ัน จะเร่ิมต้นด้วยการก�ำหนดคุณสมบัติและพฤติกรรมให้อ็อบเจ็กต์ต่าง ๆ จากนั้นจึงสร้างความ
สัมพันธ์ระหว่างอ็อบเจ็กต์ว่าจะท�ำงานร่วมกันอย่างไร
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23